Page 7 - E-MAGAZINE_VOL_8
P. 7
1. ผู้น�ำองค์กรต้องให้ควำมส�ำคัญและเป็น 2. ควำมคิดเรื่องข้อมูลหรือเอกสำรของหน่วย 3. กำรปรับเปลี่ยนระเบียบข้อบังคับที่ไม่สอดคล้อง
แบบอย่ำง งำนเป็นควำมลับสุดยอด กับเทคโนโลยี
หากผู้น�าในองค์กรยังไม่มีการปรับ เราก�าลังก้าวเข้าสู่โลกยุคดิจิตัล ในการเปลี่ยนแปลงนั้นคงเป็นไปได้
ตัวเข้าหาระบบไอทีหรือเทคโนโลยี และมีความ (Digital) ซึ่งแน่นอนว่าจะพบเห็นการแลก ยากหากระเบียบต่างๆ ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง
ต้องการที่จะน�าเอาเทคโนโลยีมาพัฒนาองค์กร เปลี่ยนหรือแชร์ข้อมูลกันอย่างมหาศาล ใน เช่น ระเบียบการฝากข้อมูลไว้นอกหน่วยงาน
และพัฒนาประเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ทางกลับกันเราพบว่าหลายครั้งหน่วยงานรัฐ กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ระเบียบการต้อง
แล้วนั้นคงเป็นการยากที่ผู้ปฏิบัติจะคิดริเริ่ม จะมองว่าข้อมูลที่จะส่งหรือแลกเปลี่ยนกันนั้น เป็นเจ้าของแอปพลิเคชั่นนั้นๆ หรือซอร์ฟแวร์
น�าเอาระบบต่างๆ มาปรับใช้เพราะเกรงว่าจะ เป็นเอกสารส�าคัญซึ่งถือเป็นความลับ หรือ ต่างๆ ท�าให้ไม่สามารถพัฒนาที่เหมาะกับของ
ไม่ได้รับความสนใจ ผู้บริหารต้องมีวิสัยทัศน์ ระบบอีเมล์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันเป็นความลับ ตนเองได้หรือพัฒนาได้แต่ต้นทุนสูงเพราะ
ในการน�าเอาเทคโนโลยีมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ท�าให้จ�าเป็นที่จะต้องมีบุคลากรมารองรับใน ไม่สามารถแชร์ทรัพยากรส่วนที่ทับซ้อนกันกับ
เช่น การน�าเอา Facebook มาเป็นช่องทาง ส่วนงานดูแลซัพพอร์ทต่างๆ ซึ่งไม่ได้หมายความ หน่วยงานอื่นๆ ได้ ระเบียบจัดซื้อที่ผูกขาดหรือ
รับเรื่องร้องเรียน แทนที่จะปิดกั้นช่องทาง ว่าจะสามารถดูแลและป้องกันได้ทั้งหมด ยึดติดกับผลงานเก่าที่อาจจะไม่เกี่ยวข้องกับ
ดังกล่าวเพราะเกรงว่าผู้ปฏิบัติจะน�าเอาไปใช้ เทียบเท่ากับผู้เชี่ยวชาญภายนอก ดังนั้นแล้ว งาน เช่นการจ้างผู้พัฒนาซอร์ฟแวร์ แต่ระบุว่า
ในทางที่ผิด หรือการใช้ Line ในการติดต่อ ในการก้าวสู่ Digital Government นั้น ต้องเคยขายอุปกรณ์ให้กับหน่วยงานมาก่อน
สื่อสารซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในการติดต่อ หน่วยงานจะต้องแยกแยะล�าดับชั้นความ จะท�าให้หน่วยงานไม่ได้ประสิทธิภาพหรือ
สื่อสารได้เป็นอย่างดี เพราะเป็นการสื่อสาร ส�าคัญของข้อมูลให้ได้ว่าสิ่งใดส�าคัญและเป็น ประสิทธิผลสูงสุดจากผู้ให้บริการเป็นต้น
ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต เป็นต้น ดังนั้นแล้ว ความลับและด�าเนินการวางระบบงานให้ หรือการปรับเปลี่ยนระเบียบเดิมที่ห้ามเอา
หากผู้บริหารมีการก�าหนดนโยบายที่น�าเอา สอดคล้องกับสิ่งเหล่านั้น หากดูประเทศอื่นๆ ข้อมูลไปไว้บน Cloud ก็จะท�าให้การเดินหน้า
เทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้องแล้วจะท�าให้องค์กร เช่น ญี่ปุ่น สิงค์โปร์ ออสเตรเลียหรือสหรัฐอเมริกา ตามนโยบายเป็นไปได้ยากยิ่งขึ้น เป็นต้น
ก้าวเข้าสู่ Digital Government ได้ง่ายและ เองก็ให้เอกชนเป็นผู้ด�าเนินการและยังฝาก 4. กำรปรับเปลี่ยนให้ผู้ใช้งำนมีทำงเลือกใน
เร็วขึ้น ข้อมูลต่างๆ ไว้กับผู้ให้บริการเช่น Amazon, กำรเลือกเทคโนโลยีและนวัตกรรม
Google หรือ Microsoft อีกด้วย
ในการพัฒนาไปสู่ Digital Government
นั้นทุกอย่างไม่ควรจะรวมศูนย์อยู่ที่ใดที่หนึ่ง
เพราะจะท�าให้เกิดความเสี่ยงเช่นระบบ Email
ของทั้งประเทศอยู่ในที่ที่เดียว แต่ควรจะเปิด
โอกาสให้ผู้ใช้งานมีทางเลือกเช่นมากกว่า 1 ผู้
ให้บริการหรือเทคโนโลยี เป็นต้น และรัฐบาล
ท�าหน้าที่ดูแลในส่วนของมาตรฐาน หรือการ
เปิดให้มีการแข่งขันจากผู้ที่มีนวัตกรรมและ
ให้ผู้ใช้งานเป็นผู้เลือกเช่น เปิดโอกาสให้ผู้ใช้
งานได้เปรียบเทียบระบบ Mail กับ Googlemail
หรือ Microsoft Outlook เป็นต้น โดยรัฐต้อง
ลดบทบาทการเป็นผู้ด�าเนินการเองลงและ
เปลี่ยนวิธีคิดให้มีการใช้งานจากผู้มีประสิทธิภาพ
หรือประสบการณ์ที่มากกว่าเป็นต้น
สุดท้ายประเทศจะก้าวไปข้างหน้า
สู่ Digital Government ได้นั้นคงต้องอาศัย
ทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็นรัฐบาลหรือ
หน่วยงานกระทรวง ทบวง กรมที่จะเป็นผู้
ปฏิบัติ และยังหมายรวมถึงผู้ให้บริการที่จะ
ต้องน�าเสนอบริการที่ดีที่สุด บนประโยชน์สูงสุด
แก้ราชการเพราะสุดท้ายแล้วนั้น เราทุกคนล้วน
ต้องพึ่งพาอาศัยบริการเหล่านั้นจึงเกิดประโยชน์
หากมีการเปลี่ยนแปลงในเชิงประสิทธิภาพและ
คุณภาพนั่นเอง
I-TEL | 4