Page 5 - E-MAGAZINE_VOL_8
P. 5
MPLS เป็นโปรโตคอลที่สามารถปรับขนาดได้และเป็นอิสระ เป็นเสมือน Router ตัวใหญ่ๆ ตัวหนึ่ง ท�าให้รูปแบบของการให้
สามารถสร้างวงจรแบบต้นทางจนถึงปลายทาง (end-to-end) ข้าม บริการระหว่าง MPLS Layer 2 และ MPLS Layer 3 มีข้อแตกต่าง
ทุกประเภทของสื่อกลางในการส่งข้อมูลท�าให้ผู้ให้บริการเกิดความ ที่ชัดเจน แต่ยังคงไว้ซึ่งข้อดีและข้อเสียที่แตกต่างกันออกไป ตามรูป
สะดวกในการสร้างเส้นทางของการให้บริการ MPLS ซึ่งเป็นผลดีของ แบบของการใช้งานที่ผู้ใช้บริการเป็นผู้เลือก การใช้งานที่คุ้นเคยเป็น
ผู้ใช้บริการ ทางผู้ให้บริการจึงใช้เทคนิคเหล่านี้เพื่อแบ่งแยกการให้ ส่วนหนึ่งของการตัดสินใจว่าผู้ใช้บริการจะเลือกหรือนิยมใช้บริการ
บริการเป็นรูปแบบที่เป็น MPLS Layer 2 (Data Link Layer) และ MPLS Layer 2 หรือ MPLS Layer 3 นั้น ตามหลักการใช้งานจริงๆ
MPLS Layer 3 (Network Layer) โดยการท�างานแบ่งแยกการ แล้ว กล่าวคือ MPLS Layer 2 เป็นการท�างานในรูปแบบของ Frame
ท�างานกันชัดเจนไม่มีการปะปนกันของโปรโตคอลท�าให้สามารถใช้งาน ที่มีการส่งผ่านกันเป็นแบบจุดต่อจุด หรือ Point to Point ซึ่งหาก
ได้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามความต้องการของผู้ใช้บริการ ส�าหรับ ผู้ใช้บริการมีการส่งผ่านข้อมูลระหว่างกันมากกว่าสองสาขาขึ้นไปนั้น
MPLS Layer 2 เป็น Service Provider Network ไม่ได้ให้บริการใน ข้อมูลที่ส่งผ่านมีความจ�าเป็นต้องผ่านส�านักงานส่วนกลางหรือส�านักงานใหญ่
ส่วนของการแลกเปลี่ยนเส้นทาง (Routing) และไม่ได้เข้าไปร่วมการ ก่อนที่สาขาจะส่งถึงกันได้ เนื่องจากอุปกรณ์ทางฝั่งผู้ใช้บริการไม่มีการ
แลกเปลี่ยนเส้นทาง (Routing Information) กับผู้ใช้บริการ แต่จะส่ง แลกเปลี่ยนเส้นทาง หรือ Routing ระหว่างกันท�าให้ต้องมีการส่งผ่าน
ผ่าน Layer 2 Frame ทั้ง Frame จากอุปกรณ์ในการแลกเปลี่ยนเส้น เป็นจุดหนึ่งไปยังอีกจุดเสมอ แต่หากเป็นรูปแบบของการให้บริการ
ทาง (Router) ของผู้ใช้บริการฝั่งหนึ่งไปยัง Router ของผู้ใช้บริการ MPLS Layer 3 แล้ว การส่งผ่านข้อมูลจากสาขาหนึ่งไปยังอีกสาขา
อีกฝั่งหนึ่ง โดยผู้ใช้บริการมอง Router ของ Service Provider เป็น หนึ่งไม่จ�าเป็นต้องผ่านส�านักงานส่วนกลาง หรือส�านักงานใหญ่ก่อน
เสมือน Lease Line Switching หรือมอง Service ProviderNetwork เนื่องจากอุปกรณ์ทางฝั่งลูกค้ามีการแลกเปลี่ยนเส้นทาง หรือ Routing
เป็นเสมือนสาย LAN หรือสายส่งสัญญาณระยะไกล ในส่วนของ ระหว่างกันกับผู้ให้บริการท�าให้ข้อมูลถูกส่งผ่านโดยที่ไม่ผ่านส�านักงานใหญ่
MPLS Layer 3 นั้น Service Provider Network ให้บริการแลก และหากเกิดเหตุส�านักงานใหญ่มีปัญหา ไม่สามารถใช้งานได้ ส�านักงาน
เปลี่ยนเส้นทาง Routing ระดับ Layer 3 Network Layer แก่ผู้ใช้ สาขาเองยังคงสามารถส่งผ่านข้อมูลระหว่างกันได้โดยปกติ แต่หากเป็น
บริการโดยที่ Routing Information (subnet) ของลูกค้าแต่ละราย MPLS Layer 2 หากส�านักงานใหญ่มีปัญหา หรือไม่สามารถใช้งานได้
ไม่มาปะปนกัน อุปกรณ์ในการแลกเปลี่ยนเส้นทาง หรือ Router ของ จะส่งผลกระทบกับการส่งผ่านข้อมูลทั้งหมดเนื่องจากข้อมูลที่ส่งผ่าน
ผู้ใช้บริการเองมอง Network ของ Service Provider ทั้ง Network ทุกอย่างจ�าเป็นต้องผ่านส�านักงานใหญ่ เป็นต้น
ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจุดประสงค์ของการใช้งานของผู้ใช้บริการที่จะตัดสินใจเลือกรูปแบบการให้บริการแบบไหนเพื่อรองรับธุรกิจที่ต้องมีการ
ส่งผ่านข้อมูลระหว่างกัน ที่ส�าคัญต้องการความปลอดภัย ประสิทธิภาพของการใช้งานที่สูงสุด รวมทั้งบริการเสีย เปลี่ยน ซ่อม ที่รองรับการใช้งาน
ของกลุ่มธุรกิจที่ไม่สามารถหยุดการส่งข้อมูลชั่วขณะได้ โดยทั้งหมดของการให้บริการของบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ เทเลคอม จ�ากัด (มหาชน) มี
ความเชี่ยวชาญของบุคลากร ทีมงานที่คอยดูแลตลอด 24 ชั่วโมง รวมไปถึงการประกันคุณภาพของกรณีเกิดปัญหาต่างๆที่ผู้ใช้บริการไม่สามารถ
ใช้งานได้ (SLA) ภายใน 4 ชั่วโมง รองรับพื้นที่ทั้งหมดทั่วประเทศ ทางผู้ใช้บริการจึงวางใจในการใช้บริการได้เป็นอย่างดี
I-TEL | 2