Page 19 - E-MAGAZINE_VOL_17
P. 19

โครงการแพทย์พิเศษตามพระราชประสงค์                   โครงการแพทย์ หู คอ จมูกและโรคภูมิแพ้พระราชทาน
                   โครงการตามพระราชประสงค์ หมายถึง โครงการที่ทรงศึกษาปฏิบัติ     เริ่มเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒ เนื่องจากมีราษฎรจ�านวนมากที่เจ็บป่วย
          ส่วนพระองค์กับผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์สาขาต่างๆ เมื่อได้ผลดีแล้วจึงทรงน�า  ด้วยโรคหู คอ จมูกและโรคภูมิแพ้ จึงโปรดเกล้าฯ ให้จัดหน่วยแพทย์
          มาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ประชาชนโดยโครงการแพทย์พิเศษตามพระราช  อาสาสมัครผลัดกันออกไปปฏิบัติหน้าที่ประจ�าโรงพยาบาลประจ�าจังหวัดที่
          ประสงค์ เริ่มเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๗ เพื่อบรรเทาความเจ็บปวดของราษฎรที่นิคม  เสด็จแปรพระราชฐาน โดยอาศัยแพทย์จากโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
          สร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ อ�าเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส นิคมนี้มีสถานีอนามัย  รามาธิบดี ราชวิถี โรงพยาบาลประจ�าจังหวัดนครราชสีมาและโรงพยาบาล
          เพียงแห่งเดียว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กระทรวงสาธารณสุขจัดแพทย์  ประจ�าจังหวัดนครพนม ผลัดเปลี่ยนกันมาปฏิบัติราชการชุดละ ๒ สัปดาห์
          หมุนเวียนเข้าไปบริการตรวจรักษา แพทย์และเจ้าหน้าที่จากโรงพยาบาล  เริ่มที่จังหวัดนราธิวาสก่อน ต่อมาขยายการปฏิบัติงานไปที่จังหวัดสกลนคร
          นราธิวาส และโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก ออกไปปฏิบัติการสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง  และที่โรงพยาบาลค่ายกาวิละ จังหวัดเชียงใหม่
          เป็นประจ�า
                                                              โครงการอบรมหมอหมู่บ้านในพระราชประสงค์
          หน่วยทันตกรรมเคลื่อนที่พระราชทาน                           ความเจ็บป่วยของราษฎรเกิดจากการไม่ได้รับการรักษาพยาบาล
                 ในปี ๒๕๑๒ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช  ที่ถูกต้อง ประกอบกับไม่มีสถานพยาบาลอยู่ใกล้ บ้างก็เกิดจากการบริโภค
          ได้ทรงมีพระราชปรารภว่า “เวลาพระองค์มีปัญหาเกี่ยวกับฟันก็มีทันตแพทย์  อาหารไม่ถูกสุขลักษณะ จึงมีพระราชด�าริจัดตั้งโครงการอบรมหมอหมู่บ้าน
          ดูแลรักษา แล้วเวลาราษฎรที่อยู่ห่างไกลจะมีทันตแพทย์ช่วยรักษาหรือเปล่า”  ในพระราชประสงค์ โดยคัดเลือกคนในหมู่บ้านรับการฝึกอบรมการรักษา
                 ในเวลาต่อมา ทรงทราบว่าทันตแพทย์นั้นมีน้อยและมีอยู่ตาม  พยาบาลเบื้องต้น การรักษาโรคอย่างง่าย เพื่อสามารถช่วยเหลือเพื่อนร่วม
          โรงพยาบาลประจ�าจังหวัดเท่านั้น บางจังหวัดก็ไม่มี พระองค์ทรงรับสั่งว่า  หมู่บ้านได้ โดยในปี พ.ศ. ๒๕๑๗ เริ่มบรรเทาความเจ็บปวดของราษฎรที่
          “การที่จะให้ราษฎรที่ยากจนที่มีปัญหาเรื่องฟัน หยุดการท�านาท�าไร่ เดิน  นิคมสร้างตนเองพัฒนาภาคใต้ อ�าเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาสพระบาทสมเด็จ
          ทางไปหาแพทย์นั้น เป็นสิ่งที่ยากยิ่ง ในทางตรงกันข้าม หากเป็นการให้  พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราโชวาทแก่ผู้ส�าเร็จการศึกษา
          บริการเคลื่อนที่ไปสู่ประชาชน ก็จะเป็นการแก้ปัญหาได้ทางหนึ่ง”  สาขาแพทยศาสตร์ตอนหนึ่งว่า “จึงใคร่ขอร้องให้ทุกๆ คนตั้งใจและพยายาม
                 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงตรัสแก่  ปฏิบัติหน้าที่ให้ได้ผลสมบูรณ์จริงๆ อย่าปล่อยให้ก�าลังของชาติต้องเสื่อม
          ทันตแพทย์สี สิริสิงห์ ทันตแพทย์ประจ�าพระองค์ว่า “ฉันต้องการให้หมอ  ถอยลงเพราะประชาชนเสียสุขภาพอนามัย”
          ช่วยไปดูแลบ�าบัดทุกข์ให้แก่นักเรียนและประชาชนที่อยู่ในท้องถิ่นกันดาร     นับเป็นพระราชด�ารัสที่แสดงถึงความตั้งพระทัยในการแก้ไขปัญหา
          ห่างไกลหมอ และจะออกค่าใช้จ่ายให้ทั้งหมดตามความจ�าเป็นโดยให้จัด  ด้านสุขภาพอนามัยของราษฎรอย่างแท้จริง ทั้งนี้อาจกล่าวได้ว่า พระบาท
          หน่วยเคลื่อนที่ไปโดยรถยนต์และตระเวนไปตามถนนหนทาง ตามหมู่บ้าน  สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงยึดมั่นที่จะสืบทอดพระราช
          ที่อยู่ห่างไกลชนบท”                                 ปณิธานของสมเด็จพระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์และสมเด็จ
                 หน่วยทันตกรรมพระราชทานจึงก่อก�าเนิดขึ้น พระบาทสมเด็จ  พระบรมราชชนนี พระมารดาของการแพทย์ชนบท ในการที่จะให้ประชาชน
          พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์  ชาวไทยได้มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์แข็งแรง เพื่อเป็นก�าลังส�าคัญใน
          จัดซื้อรถยนต์ พร้อมอุปกรณ์และเครื่องมือท�าฟัน มีทันตแพทย์อาสาออก  การพัฒนาประเทศชาติสืบไป
          ปฏิบัติงาน โดยเริ่มครั้งแรกเมื่อปี ๒๕๑๒ โดยมี ทันตแพทย์ สี สิริสิงห์ เป็น
          หัวหน้าทีม เพื่อส่งทันตแพทย์อาสาสมัครออกช่วยเหลือบ�าบัดโรคเกี่ยวกับ
          ฟัน ตลอดจนสอนการรักษาอนามัยของปากและฟันแก่เด็ก นักเรียนและ
          ประชาชนที่อยู่ในท้องที่ทุรกันดาร

          โครงการศัลยแพทย์อาสาราชวิทยาลัย
                 ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๘ แพทย์อาสาสมัครซึ่งเป็นแพทย์อาวุโสและ
          มากประสบการณ์เล็งเห็นความส�าคัญและจ�าเป็นที่จะต้องมีศัลยแพทย์ไป
          ช่วยปฏิบัติงาน ณ โรงพยาบาลประจ�าจังหวัดสกลนคร ในช่วงที่พระบาท
          สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จแปรพระราชฐานประทับที่
          พระต�าหนักภูพานราชนิเวศน์ จึงได้มีการศึกษาหาข้อมูลและความต้องการ
          ของโรงพยาบาลและหน่วยงานต่างๆ ในด้านศัลยกรรมและรวบรวมจัดท�า
          ท�าเนียบศัลยแพทย์อาสา แล้วก่อตั้งวิทยาลัยศัลยแพทย์ขึ้น ภายหลัง
          พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงรับวิทยาลัย
          ศัลยแพทย์ไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์และเปลี่ยนชื่อเป็น “ราชวิทยาลัย
          ศัลยแพทย์แห่งประเทศไทย”
                                                              ที่มา : ชมรมจริยธรรม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์



                                                                                                     I-TEL |  16
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24