Page 15 - E-MAGAZINE_VOL_17
P. 15

ระบบแรก คือ บ่อบ�าบัดน�้าเสีย เวลาที่มีน�้าเสียไหลมาแต่ละบ่อก็     หลังจากที่เราเดินชมธรรมชาติกันมาเรื่อยๆ ถ่ายรูปกันจนหน�าใจ
          จะไหลล้นผ่านอาคารระบายน�้าด้านบน และเชื่อมต่อกันทางตอนล่างของ  บนเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติที่ทอดยาว เราจะพบกับหอภูมิทัศนาที่ท�าให้
          บ่อถัดไปเป็นล�าดับก่อนที่จะน�าคืนสู่แหล่งน�้าธรรมชาติ  เราได้เห็นภูมิทัศน์ทั้งหมดของบริเวณต้นโกงกางและต้นแสม สีเขียวขจีตัด
                                                              กับสีฟ้าอ่อนๆของท้องฟ้า ลมทะเลพัดเอื่อยๆ เป็นบรรยากาศที่เราจะหาจาก
                 ระบบที่สอง คือ ระบบพืชและหญ้ากรองน�้าเสีย ซึ่งให้พืชช่วย  ที่ไหนไม่ได้อีกแล้วค่ะ ระหว่างที่เราเดินหากได้ลองฟังดีๆ แล้ว จะได้ยินเสียง
          บ�าบัดน�าเสียโดยการให้น�้าเสียไหลผ่านแปลงหญ้าและหญ้าที่ดีที่สุดก็คือ  เหมือนคนดีดนิ้วเป็นระยะๆ นั่นคือเสียงของ “กุ้งดีดขัน” เวลาที่มันดีดตัว
          หญ้าธูปฤาษี ที่ช่วยปล่อยออกซิเจนจากรากลงไปเติมน�้าให้กลายเป็นน�้าดีได้  เพื่อเคลื่อนตัวเองอยู่บริเวณโคลนนั่นเองค่ะ หากมาในช่วงที่ดอกแสมบาน
          และเมื่อครบ ๙๐ วัน ก็จะตัดพืชออก พอตัดแล้วก็น�าไปให้กลุ่มแม่บ้าน  ด้วยแล้ว เวลาที่เดินผ่านนอกจากจะพบกับความสวยงามของต้นแสม ยังได้
          ท�าเครื่องสานเพื่อเพิ่มประโยชน์และสามารถสร้างรายได้ให้กับกลุ่มแม่บ้านได้  กลิ่นอันหอมหวานของดอกแสมอีกด้วยค่ะ

                 ระบบที่สาม คือ ระบบพื้นที่ชุ่มน�้าเทียม กลไกก็จะคล้ายกับ
          ระบบพืชและหญ้ากรอง แต่จะแตกต่างกันด้วยวิธีการ

                 ระบบที่สี่ คือ ระบบแปลงพืชป่าชายเลน โดยการให้ธรรมชาติ
          บ�าบัดด้วยตัวของมันเองตามระยะเวลาการขึ้นลงของน�้าทะเลในแต่ละวัน
          อาศัยระบบรากของพืชป่าชายเลนช่วยปล่อยก๊าซออกซิเจนเติมให้กับน�้า
          เสียและจุลินทรีย์ในดินและชาวบ้านจะไม่เข้ามายุ่ง เพราะเป็นพื้นที่ของงาน
          วิจัยและเมื่อมีโครงการฯ เข้ามาชาวบ้านก็จะเริ่มอนุรักษ์โดยการไม่ปล่อย
          น�้าเสียลงแม่น�้า หรือว่าถ้าเขาจะปล่อยก็จะใช้ผ่านถังดักไขมัน หากบ้านไหน
          ยังไม่มี ชาวบ้านจะมารับถังดักไขมันที่โครงการฯ ได้




                 ในส่วนของเส้นทางศึกษาธรรมชาติระบบนิเวศป่าชายเลนนั้น มี     การที่จะเข้าไปเยี่ยมชมโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อม
          ระยะทางประมาณ ๘๕๐ เมตร เรียกได้ว่าเดินกันเหนื่อยเลยทีเดียวค่ะ แต่  แหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจากพระราชด�ารินั้นไม่ยากเลยค่ะ ไม่ต้องกลัวว่าจะ
          ไม่ต้องกลัวว่าแดดจะร้อนเหงื่อจะท่วมนะคะ เพราะตลอดสองข้างทางเดิน  เดินไกลหรือกลัวเดินหลง เพราะสามารถขับรถยนต์ส่วนตัวเพื่อเที่ยว
          นั้นจะเต็มไปด้วยต้นโกงกางและต้นแสมมากมายที่แทบจะแย่งพื้นที่กัน  ชมบ่อบ�าบัดน�้าเสียได้ แถมยังมีแผนที่บอกแผนผังคร่าวๆ ของโครงการฯ
          เจริญเติบโตสูงท่วมหัวจนโค้งรับกันทั้ง ๒ ด้านเสมือนหลังคาซึ่งช่วยกันแดด  สะดวกมากๆ หลังจากได้รับความรู้และความสุขมากมายจากการเรียนรู้
          ได้เป็นอย่างดีเลยค่ะ ปลาตีนตัวโตสัญลักษณ์ความอุดมสมบูรณ์ของป่าชายเลน  โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย อันเนื่องมาจาก
          ไหนจะพวกปูแสม ปูก้ามด้าม กระทั่งนกนานาชนิด ไม่ว่าจะเป็นนกเด้าดิน  พระราชด�าริแล้ว ก็อย่าลืมแวะอุดหนุนสินค้าของที่ระลึกจากโครงการฯ ไม่
          นกเด้าลม นกยางเปียและยังรวมถึงนกอีกมากมายหลากหลายชนิด จน  ว่าจะเป็นงานสานจากหญ้าธูปฤาษีของกลุ่มแม่บ้าน เสื้อยืด หมวกสาน
          สถานที่แห่งนี้ได้รับการขนานนามว่าเป็น ๑ ใน ๑๐ สถานที่ดูนกที่ดีที่สุดของ  ผลไม้อบแห้งและโปสการ์ด รวมทั้งสินค้าอื่นๆ อีกมากมาย และถ้าหากใคร
          ประเทศไทยค่ะ และความพิเศษของทางเดินศึกษาธรรมชาตินี้นอกจาก  ยังไม่รู้ว่าสุดสัปดาห์นี้จะไปเที่ยวที่ไหนจะขึ้นเขาลงห้วยหรือลงทะเลก็เบื่อ
          ความสมบูรณ์และสวยงามของป่าชายเลนแล้ว ก็คือ มีแหลมทรายยาว  แล้ว I-Trip ขอแนะน�าโครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมแหลมผักเบี้ย
          ประมาณ ๓ กิโลเมตรที่กั้นระหว่างหาดโคลนกับหาดทราย และตรงนี้เองค่ะ  อันเนื่องมาจากพระราชด�าริ ที่อ�าเภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรีแห่งนี้เลยค่ะ
          คือ ทรายเม็ดแรกของอ่าวไทยตอนบน



























                                                                                                     I-TEL |  12
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20