Page 23 - E-MAGAZINE_VOL_17
P. 23
๓. การยกระดับสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการก�าหนดอุดมการณ์การพัฒนา
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการด�ารงชีวิต ที่ ของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชด�ารัสแก่ชาวไทย อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี,ศ.เสน่ห์ จามริก,ศ.อภิชัย พันธเสน, และ
นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ ๔ ศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรม
ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของ ชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจ�านวนหนึ่งนับ
ประเทศไทย ให้สามารถด�ารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์ ตั้งแต่พุทธทศวรรษ ๒๕๒๐ และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่
และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย
ส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสาขาอื่นๆ มาร่วมกันประมวลและ
กลั่นกรองพระราชด�ารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ และได้จัดท�าเป็นบทความเรื่อง
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และได้น�าความกราบบังคลทูลพระกรุณา
ขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้น�าบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่
เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของส�านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป
เมื่อวันที่ ๒๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๒
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจาก
องค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและ
นานาประเทศและสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนา
แบบยั่งยืน โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับ
แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
๔. ด้านความมั่นคงภายในประเทศ
ตลอดระยะเวลา ๗๐ ปีของการครองสิริราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงริเริ่มโครงการในพระราชด�าริเพื่อการ
พัฒนาประเทศไว้มากมาย ทรงใช้เวลาศึกษาแผ่นดินไทยและรายละเอียดของพื้นดิน ภูมิประเทศหลักๆ ของแหล่งน�้าการเกษตร ความต้องการของประชาชน
ตลอดจนการส่งเสริมอาชีพว่าถิ่นไหนเหมาะแก่การครองชีพอย่างไร
โดยทรงทราบถึงความทุกข์ของประชาชนผ่านการถ่ายทอดจากปากสู่พระกรรณและจากสายพระเนตรที่ทรงพบเห็นด้วยพระองค์เอง ตั้งแต่
เริ่มแรกเสด็จขึ้นครองราชย์จนถึงปัจจุบัน มีพระราชด�าริให้จัดตั้งมูลนิธิ ๗ มูลนิธิ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด�าริอีกกว่า ๒,๐๐๐ โครงการ ล้วนแต่
เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์และพัฒนาน�้าเป็นอันดับแรก
รองลงมาก็คือดิน ธรณีวิทยา การเกษตรทั้งหลาย ตลอดจนการจัดสรรที่ดิน รวมถึงการอนุรักษ์และพัฒนาป่า โครงการที่มีชื่อเสียงได้รับการ
ยอมรับทั่วโลก มีอาทิ “โครงการหลวง” ก�าเนิดขึ้นจากการที่ได้ทอดพระเนตรถึงปัญหาการปลูกฝิ่น และท�าไร่เลื่อนลอยของชาวเขา จึงมีรับสั่งให้ทดลองหา
พืชเมืองหนาวให้ชาวเขาปลูกแทนฝิ่น “โครงการฝนหลวง” ก�าเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณ ที่ทรงห่วงใยในความทุกข์ยากของประชาชนในถิ่นทุรกันดาร
ส�าหรับประชาชนที่ต้องประสบปัญหาขาดแคลนน�้าอุปโภคบริโภค และเกษตรกรรม ทรงศึกษาค้นคว้าแนวทางการท�าฝนหลวงด้วยพระองค์เอง
ก่อนจะโปรดเกล้าฯให้ด�าเนินการทดลองในท้องฟ้าจริงเป็นครั้งแรก ที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เมื่อปี ๒๕๑๒ ซึ่งส�านักสิทธิบัตรยุโรปได้ออกสิทธิบัตรถวาย
นอกจากนี้พระองค์ทรงนับเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกและพระองค์เดียวในโลก ที่ได้รับการยกย่องอย่างสูงคือ โครงการพัฒนาคนตาม
แนวพระราชด�าริ “เศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งได้พระราชทานเป็นแนวทางการพัฒนาคนอย่างยั่งยืนและเป็นหนทางแก้ไขวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ ทั้งหลาย
ทั้งปวงนี้คือ พระราชสัตยาธิษฐานที่ทรงตั้งปณิธานมาตลอด ๗ ทศวรรษการครองสิริราชสมบัติ พระองค์ไม่เพียงแต่จะเป็นพระมหากษัตริย์ที่ครองราชย์
ยาวนานที่สุดในโลก แต่ยังเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงงานหนักที่สุดในโลกอีกด้วย
I-TEL | 20