Page 11 - E-MAGAZINE_VOL_49
P. 11

I - Trend | กองบรรณาธิการ






                 ทั้งนี้ การด�าเนินธุรกิจ Cross-Border E-Commerce หรือ CBEC เป็นโมเดลของการท�าธุรกรรมการค้าข้ามประเทศผ่านช่องทาง

 ท�ำควำมรู้จักกับ  ออนไลน์ ซึ่งส่วนมากแพร่หลายในประเทศที่ผู้บริโภคนิยมซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เช่น ในอาเซียน และจีนโดยการท�าธุรกิจไปต่างประเทศ
          ที่จะประสบความส�าเร็จได้นั้น นอกจากจะต้องใช้แพลตฟอร์มที่เป็นที่ยอมรับในระดับโลกและน่าเชื่อถือแล้ว ผู้ประกอบการ SME จ�าเป็นต้อง
          ค�านึงถึงปัจจัยต่างๆ ดังต่อไปนี้:
 Cross-Border E-Commerce


                 1. มีการวางกลยุทธ์ทางการตลาดที่เหมาะสมกับแต่ละ
 ทำงเลือกใหม่ในยุคโควิด-19    ตลาดเป้าหมาย ซึ่งมีความแตกต่างกันทั้งในมิติเชิงพื้นที่ และประชากร

         ศาสตร์ (Demographic) เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน มีการ
         บูรณาการกลยุทธ์หรือเทคนิคต่างๆ เช่น มีการเปิด Online Store
         เคียงคู่ไปกับหน้าร้าน หรือที่เรียกว่า Omni-Channel Marketing
         รวมถึงการปรับโฉม ออกแบบหน้าตาของร้านใหม่เพื่อมอบประสบการณ์ใหม่
         ในการซื้อของลูกค้า นอกจากนี้ ต้องสามารถสร้างสรรค์กิจกรรมที่
         กลายเป็นที่กล่าวขวัญกันทั่วไป (Talk of the Town) เพื่อให้เป็นที่
         รู้จักของผู้บริโภค


                 2. มีการน�านวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลมาช่วยในการ
         วางแผนด้านการตลาด เช่น การน�าข้อมูลขนาดใหญ่ หรือ Big Data
         มาวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภค เพื่อพัฒนาสินค้าใหม่ๆ ที่ตรงกับ
         ความต้องการ และการน�า AI มาช่วยพัฒนา/ออกแบบผลิตภัณฑ์

    จากเหตุการณ์ไวรัสโควิด-19 ระบาด ท�าให้ผู้คนต้องลดการติดต่อกันทางกายภาพ ใช้ชีวิตที่บ้าน ร้านอาหาร  ตลอดจนเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ เช่น การใช้ Chatbot ซึ่ง
 ธุรกิจบริการหลายอย่าง รวมถึงห้างสรรพสินค้าไม่สามารถเปิดให้บริการตามปกติได้ ผู้เชี่ยวชาญและสื่อหลายส�านักชี้ว่า  สามารถให้บริการลูกค้าแบบ 24/7
 เหตุการณ์นี้คือตัวเร่ง Digital Transformation แบบภาคบังคับ ธุรกิจที่ให้บริการออนไลน์ได้หรือพร้อมปรับเข้าสู่
 การให้บริการออนไลน์ได้เร็วกว่า คือผู้ชนะในสถานการณ์ดังกล่าว     3. มีระบบการช�าระเงินที่มีมาตรฐานซึ่งจะช่วยสร้างความ
         น่าเชื่อถือในสายตาของผู้ซื้อสินค้าและบริการในต่างประเทศ ดังนั้น
         ผู้ประกอบการ SME ไทยจึงควรพิจารณาวางระบบการช�าระเงินใน
    ส�าหรับประเทศไทย แม้ว่า E-Commerce จะเพิ่มขึ้นอย่าง  รูปแบบต่างๆ และใช้เครื่องมือส�าหรับช่วยการช�าระเงินที่มี
 รวดเร็ว แต่ส่วนใหญ่เป็นการซื้อขายสินค้าภายในประเทศเป็นหลัก  ความน่าเชื่อถือ อย่างเช่น ระบบ PayPal ที่เปรียบเสมือนคนกลางที่
 ในรูปแบบ B2B (ธุรกิจกับธุรกิจ) และ B2G (ธุรกิจกับภาครัฐ) ขณะที่  ช่วยดูแลการซื้อ-ขายให้ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายสามารถด�าเนินธุรกรรม
 Cross-Border E-Commerce หรือ CBEC ในรูปแบบ B2C (ธุรกิจ  ได้โดยสะดวก
 กับผู้บริโภค) ยังมีไม่มากนะ แต่ในปัจจุบัน ผู้ประกอบการ SMEs
 สามารถเข้าสู่ตลาดต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในด้าน     4. มีระบบการจัดการสินค้าคงคลัง การขนส่งสินค้าที่รวดเร็ว
 การส่งออกและการน�าเข้าผ่าน Third-Party Platform ของต่างชาติ  มีประสิทธิภาพ และระบบติดตาม ตรวจสอบสถานะการส่งที่แม่นย�า
 ที่ได้รับการยอมรับในระดับโลก เช่น Amazon, Alibaba, Lazada,  ตลอดจนระบบการดูแลลูกค้า เช่น การรับประกันสินค้าและมาตรการ
 Ebay นอกจากนี้ ยังมีผู้ประกอบการอีกจ�านวนมากที่นิยมค้าขาย  คืนเงินหากสินค้าเกิดการช�ารุดเสียหายระหว่างการจัดส่งซึ่งจะช่วยเพิ่ม
 ผ่านเครื่องมือออนไลน์อื่นๆ ที่ไม่จ�าเป็นต้องอยู่ในรูปของตลาดกลาง  ความเชื่อมั่นของผู้ซื้อ
 พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น Facebook Instagram เป็นต้น เนื่องจาก
 เป็นเครื่องมือที่ต้นทุนค่อนข้างต�่า และสามารถเข้าถึงผู้บริโภคทั่วไป
 ได้ง่าย จึงถือว่าเป็นความท้าทายและโอกาสของ SME ไทยในการขยาย     ทั้งหมดนี้จะเห็นได้ถึงเครื่องมือและแนวทางส�าหรับ SME ไทยในการใช้ช่องทาง CBEC ในการขยายขอบเขตการด�าเนินธุรกิจไปยัง
 ตลาดส่งออกไปในตลาดต่างประเทศที่มีศักยภาพผ่านช่องทางการ  ต่างประเทศ ซึ่งสามารถช่วยลดผลกระทบจากการส่งออกในรูปแบบเดิมที่ก�าลังซบเซา ซึ่งปัจจุบัน Internet สามารถเชื่อมต่อทุกที่ทั่วโลก
 ค้าออนไลน์ประเภทต่างๆ  เข้าไว้ด้วยกัน ท�าให้มีโอกาสทางธุรกิจเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา E-commerce จึงเข้ามามีบทบาทส�าคัญในการซื้อขาย แลกเปลี่ยนสินค้า การที่ผลิต
         สินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน และสามารถแข่งขันได้ ถ้าได้รับค�าแนะน�าจากผู้เชี่ยวชาญ พร้อมที่จะให้ค�าปรึกษา จึงเป็นสิ่งส�าคัญที่จะท�าให้
         ผู้ประกอบการ SMEs ไทย ค้าขายได้อย่างประสบความส�าเร็จในระดับโลก ปูทางสู่การสร้างแบรนด์สินค้าไทยให้เป็นที่รู้จักทั่วโลกมากยิ่งขึ้น

                                                                       ขอขอบคุณข้อมูลจาก : ส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล



 8  |  I-TEL                                                                                          I-TEL |         9
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16