Page 16 - E-MAGAZINE_VOL_49
P. 16
I - Health | กองบรรณาธิการ
วิธีป้องกันตัวเองจำกโรคสครับไทฟัส
• สวมเสื้อผ้าที่ปกคลุมร่างกาย เช่น ใส่เสื้อแขนยาว กางเกงขายาว ถุงเท้า เป็นต้น
• เตรียมอุปกรณ์กันยุง แมลงต่างๆ และทายากันยุงทุกครั้งที่เข้าป่า นอกจากไล่ยุงแล้วยังสามารถช่วยไล่แมลงอื่นๆ ได้ด้วย
• หลีกเลี่ยงการนั่งและนอนบนพื้นหญ้า พื้นดินโดยตรง เพราะเราไม่สามารถรู้ได้เลยว่าบนพื้นหญ้า พื้นดิน มีเชื้ออะไรอยู่บ้าง
โรคสครับไทฟัส • หลังกลับจากเที่ยว รีบอาบน�้า ท�าความสะอาดเสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม เพราะอาจมีแมลงต่างๆ เกาะติดกลับมาด้วย
สายแคมป์ เดินป่า ควรระวัง !!
หากพูดถึงการท่องเที่ยวแล้ว ต้องบอกเลยว่าปีนี้เป็นปีแห่งการท่องเที่ยวตามแหล่งธรรมชาติเลยก็ได้
ได้ท�ากิจกรรมต่างๆ ทั้งเดินป่า เข้าถ�้า กางเต็นท์ ตั้งแคมป์ แต่อย่าเพิ่งเพลิดเพลินกับวิวสวยๆ บรรยากาศดีๆ เพราะถ้า
ไม่ระวังตัว ก็อาจจะมีภัยร้ายแอบแฝงอยู่
โรคสครับไทฟัส (Scrub Typhus) คืออะไร ? อำกำรของโรคสครับไทฟัส
โรคสครับไทฟัสหรือโรคไข้รากสาดใหญ่ เป็นโรคติดต่อของ บริเวณที่ถูกตัวไรกัด จะมีรอยแผลเหมือนโดนบุหรี่จี้เนื้อตาย
สัตว์ป่าเกิดจากเชื้อริกแกตเซีย (Rickettsia) ซึ่งจะเชื้อตัวนี้จะอยู่ใน มีไข้ ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ปวดกระบอกตา ตาอักเสบ ไอแห้ง หากรัฐบาลประกาศให้สามารถออกเดินทางไปท่องเที่ยวได้ ใครที่มีแพลนเดินป่า
สัตว์ตระกูลฟันแทะ เช่น หนู กระต่าย กระแต เชื้อจะติดต่อจากสัตว์ หรือปอดบวมในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงหัวใจจะเต้นเร็วมาก ความดัน ตั้งแคมป์อย่าลืมระมัดระวังโรคอันตรายตามที่กล่าวมา หากกลับมาภายใน 2 สัปดาห์แล้วพบว่า
ตัวหนึ่งไปยังอีกตัวหนึ่งได้ โดยจะมี “ตัวไรป่า” เป็นตัวน�าพาหะ โลหิตต�่า อาการของโรคสครับไทฟัสจะไม่ได้รุนแรงเหมือนไข้มาลาเรีย มีอาการดังข้างต้นควรรีบไปพบแพทย์แจ้งประวัติโดยเร็ว และที่ส�าคัญอย่าลืมดูแลตัวเอง
มีระยะฟักตัวเฉลี่ย 1 สัปดาห์ แต่หากรักษาไม่ทันหรือไม่ทราบว่าถูกตัวไรป่ากัด อาจจะท�าให้เกิด ให้ปลอดภัยจากโรคโควิด-19 ด้วยนะครับ
ภาวะแทรกซ้อนได้ เช่น ไตเป็นพิษ ไตวาย https://www.thaihealth.or.th
14 || I-TELI-TEL I-TEL || 1515
I-TEL
14