Page 7 - E-MAGAZINE_VOL_48
P. 7
I - DC | กองบรรณาธิการ
มาท�าความรู้จักกับ ระบบปรับอากาศ
ส�าหรับ Data Center
การออกแบบ Data Center ที่สมบูรณ์ ควรมีการออกแบบระบบควบคุมอุณหภูมิที่มีประสิทธิภาพเพราะนับว่าเป็น 1. ระบบปรับอากาศแบบขยายตัวทางตรง (Direct Expansion หรือ DX) 2. ระบบปรับอากาศแบบใช้น�้าเย็น (Chiller)
ส่วนของโครงสร้างที่ส�าคัญอย่างมาก นอกเหนือไปจากระบบไฟฟ้าและระบบโครงข่าย เนื่องจากใน Data Center นั้น ถือว่า การขยายตัวในที่นี้หมายถึง “สารท�าความเย็น” ระบบนี้ ระบบท�าความเย็นแบบใหม่ที่ออกแบบมาส�าหรับโรงงาน
เป็นศูนย์รวมของข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับภายนอกอยู่ตลอดเวลา และมีปริมาณ Traffic รวมมหาศาล เนื่องจาก เป็นระบบปรับอากาศแบบดั้งเดิมที่นิยมใช้กันทั่วไป เนื่องจากราคาถูก อุตสาหกรรมหรืออาคารขนาดใหญ่ ในการท�างานของระบบชิลเลอร์นั้น
เป็นแหล่งที่ตั้งของเครื่อง Server เป็นจ�านวนมาก ซึ่งเครื่อง Server เหล่านี้ โดยปกติจะถูกเปิดไว้ตลอดเวลา เพื่อท�างาน ติดตั้งและดูแลรักษาง่าย ในส่วนของการท�าความเย็นจะใช้น�้ายา จะใช้น�้าเป็นสื่อกลางในการดูดความร้อนภายในห้องคอมพิวเตอร์
ตลอด 24 ชั่วโมง จึงท�าให้เครื่อง Server ท�างานหนัก และมีปริมาณความร้อนออกจากระบบเป็นจ�านวนมาก ดังนั้น หาก ท�าความเย็นที่หมุนเวียนในระบบเป็นสื่อในการดูดความร้อนจากใน ผ่านคอยล์เย็น (Evaporator) แล้วน�าความร้อนเหล่านั้นออกไป
ระบบควบคุมอุณหภูมิ ไม่มีประสิทธิภาพที่จะระบายความร้อนออกจากระบบ และใส่ลมเย็นเข้าสู่ระบบได้อย่างเพียงพอ ห้องคอมพิวเตอร์ผ่านคอยล์เย็น (Evaporator) แล้วน�าความร้อน ถ่ายเทผ่านเครื่องท�าน�้าเย็น (Chiller Plant) ที่ตั้งอยู่ภายนอกห้อง
จะท�าให้เกิดความร้อนสะสมขึ้นที่ตัวเครื่อง Server ท�าให้อายุการใช้งาน Server สั้นลง และท�าให้เกิดการล่มของระบบได้ เหล่านั้นออกไประบายทิ้งภายนอกห้องคอมพิวเตอร์ผ่านคอยล์ร้อน คอมพิวเตอร์ จากนั้นความร้อนที่ถ่ายเทออกมาจากน�้าจะถูกส่งต่อไป
(Condenser) โดยมีคอมเพรสเซอร์ (Compressor) เป็นหัวใจหลัก ยังหอระบายความร้อน (Cooling Plant) เพื่อระบายทิ้งอีกครั้ง จุดเด่น
โดยทั่วไปอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ใน Data Center จะสร้าง ในการขับเคลื่อนน�้ายาท�าความเย็นให้ไหลวนไปในระบบการท�าความเย็น ของระบบชิลเลอร์คือ สามารถควบคุมอุณหภูมิได้อย่างแม่นย�าและคงที่
ความร้อนระหว่างการท�างานเป็นอย่างมาก รวมทั้งไวต่อความร้อน (Refrigeration Cycle) แต่ระบบนี้มีข้อจ�ากัดที่ระยะห่างในการติดตั้ง ท�าความเย็นได้อย่างรวดเร็ว และลดข้อจ�ากัดการติดตั้ง สามารถวาง
ความชื้นและฝุ่น ดังนั้นการดูแลรักษาอุณหภูมิและความชื้นภายใน ระหว่างคอยล์เย็น (Evaporator) และคอยล์ร้อน (Condenser) ซึ่ง คอยล์เย็น (Evaporator) และคอยล์ร้อน (Condenser) ห่างกันได้
Data Center ให้คงที่ จึงมีความส�าคัญต่อความน่าเชื่อถือของระบบ จะติดตั้งห่างกันมากเกินไปไม่ได้ เพราะจะส่งผลให้คอมเพรสเซอร์ที่ เนื่องจากใช้น�้าเป็นสื่อในการท�าความเย็น ระยะทางจึงขึ้นอยู่กับขนาดปั้ม
สารสนเทศ เพราะหากระบบเกิดการล้มเหลว จะก่อให้เกิดความเสียหาย ท�าหน้าที่ขับเคลื่อนน�้ายาในระบบท�างานหนักและมีอายุการใช้งานที่สั้นลง น�้าเป็นหลัก แต่ข้อจ�ากัดของระบบชิลเลอร์คือราคาสูง ใช้พื้นที่ในการ
อย่างประเมินค่ามิได้ โดยระบบการควบคุมเครื่องปรับอากาศที่มี ติดตั้งมาก และดูแลรักษาระบบยากกว่า
ความแม่นย�า จะนิยมใช้ประเภท Precision Air Conditioning (PAC)
โดยระบบนี้จะเป็นตัวควบคุมอุณหภูมิ ความชื้น และการกรองอนุภาค ส�าหรับเรื่องของอุณหภูมิ ห้อง Server เป็นอีกสิ่งหนึ่ง ที่ต้องใส่ใจในรายละเอียดอย่างมาก เพราะหากผิดพลาดขึ้นมาก็จะสร้าง
ต่างๆ ในอากาศ ตลอด 24 ชั่วโมง พร้อมทั้งสามารถตรวจสอบการ ความเสียหายให้กับ Data Center ทั้งหมดได้เลยทีเดียว ซึ่งในเรื่องนี้ก็มีมาตรฐานสากลเป็นตัวก�าหนดอยู่ว่าควรจะก�าหนดอุณหภูมิอยู่ที่เท่าไหร่
ท�างานระบบได้จากระยะไกล และตั้งการแจ้งเตือนหากระบบเกิดมีปัญหา และควรจะต้องติดตั้งอะไรแบบไหนบ้าง ซึ่งผู้ประกอบการที่ต้องการใช้บริการ Data Center ควรจะศึกษาท�าความเข้าใจเอาไว้ตั้งแต่เริ่มต้น
ภายใต้เงื่อนไขที่เราได้ก�าหนดเอาไว้ ซึ่งการออกแบบระบบปรับอากาศ เพื่อการค�านวณงบประมาณและการออกแบบ Data Center ให้เกิดความปลอดภัยสูงสุด
โดยทั่วไป จะขึ้นอยู่กับขนาดพื้นที่เป็นหลัก เราสามารถแบ่งระบบ
ปรับอากาศที่ใช้ในห้องคอมพิวเตอร์ ออกได้เป็น 2 ประเภทคือ
4 | I-TEL I-TEL | 5