Page 8 - E-MAGAZINE_VOL_43
P. 8
I - DC | กองบรรณาธิการ
จากตัวอย่างข้างต้นเรามาลองนึกถึงการให้บริการหรือ
ผลิตภัณฑ์ที่เป็นปัจจัยส�าคัญพื้นฐานในการใช้ชีวิตภายในประเทศ เช่น
การอุปโภคบริโภค ในระดับของประชาชนทั่วไป ซึ่งจ�าเป็นจะต้องได้รับ
การบริการอย่างต่อเนื่องโดยไม่หยุดชะงัก เช่น ระบบไฟฟ้า ระบบประปา
หรือระบบขนส่ง ฯลฯ หากระบบเหล่านี้เกิดหงุดชะงัก ก็จะเกิดความ
วุ่นวายมากมายตามมาทันที แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจจึงเป็นแผนที่
ช่วยรับประกันให้เกิดความมั่นใจว่า องค์กรจะสามารถคงการบริการที่
มีความส�าคัญหรือผลิตภัณฑ์ที่มีความจ�าเป็นต่างๆ ได้อย่างต่อเนื่อง
ในการจัดท�าแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ นอกจากจะช่วย
ป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแล้ว ยังสามารถช่วยเพิ่มภาพลักษณ์
ขององค์กร สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันเหนือองค์กรอื่นที่ไม่ได้
เตรียมแผนส�ารองไว้อย่างมหาศาล เพิ่มขวัญและก�าลังใจให้กับพนักงาน
เพิ่มความน่าเชื่อถือให้กับผู้ถือหุ้นและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สร้างความ
เชื่อมั่นในธุรกิจ ซึ่งรวมไปถึงการปรับปรุงประสิทธิภาพการท�างานโดย
รวมภายในองค์กรอีกด้วย
ดังนั้นแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ จึงเป็นแผนที่มีความส�าคัญ
แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ เป็นอย่างมาก โดยทุกๆ องค์กร ล้วนมีความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นได้ด้วย
กันทั้งสิ้น เช่น
Business Continuity Planning(BCP) • การก่อการร้าย
• อุบัติเหตุ/อุบัติภัย
• ภัยธรรมชาติ
• โรคระบาด
ฉบับนี้คอลัมน์ I-DC จะมาเล่าเรื่องเกี่ยวกับแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ Business Continuity Planning หรือ BCP • การสื่อสาร/การขนส่งล้มเหลว การสร้างแผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ หรือ BCP นั้น
ที่หลายๆ ท่านคงรู้จักกันเป็นอย่างดีในสถานการณ์ตอนนี้ หรือหากใครที่ยังไม่ทราบเราจะมาแบ่งปันความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวความคิด • ระบบสาธารณูปโภคขัดข้อง โดยทั่วไปแล้วจะประกอบด้วยหลักส�าคัญดังนี้
นี้กันครับ ส่วนตัวแล้วผู้เขียนมองว่าแนวความคิดในเรื่องนี้มีความส�าคัญอย่างมากส�าหรับทุกๆ องค์กร ในระดับที่จะใช้ค�าว่า “ต้องท�า” • สิ่งแวดล้อม • ต้องรู้จักธรรมชาติ/วัฒนธรรมขององค์กรก่อน เพื่อจะ
เลยก็ว่าได้ครับ ไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชนต่างๆ เพื่อที่จะได้มีแนวทางในการบริหารจัดการและแก้ไข • การโจมตีทางไซเบอร์ ฯลฯ สามารถเตรียมแผนที่เหมาะสมได้
ปัญหาร้ายแรงต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นกับองค์กร และเมื่อเวลานั้นมาถึงซึ่งจะมาแน่ๆ ไม่ช้าก็เร็ว เราจะได้ไม่ต้องมานั่งถกเถียงกันว่า ซึ่งการเตรียมพร้อมรับมือกับความเสี่ยงในรูปแบบต่างๆ • การวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจและภัยคุกคามต่างๆ
• ก�าหนดวิธีปฏิบัติเพื่อใช้ส�าหรับแก้ไขปัญหา
“ใครจะต้องท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และผู้รับผิดชอบเป็นใครบ้าง” และหมั่นทดสอบ ปรับปรุงแผน ให้เป็นปัจจุบันอยู่เสมอจะช่วยสร้าง • หมั่นทดสอบแผนและประเมินผลอย่างสม�่าเสมอ
ภูมิคุ้มกันให้กับองค์กร เพื่อต้านทานต่อความล้มเหลวและทนต่อ • น�าไปปฏิบัติและปรับปรุงให้ทันสมัย
แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ หรือ BCP คือ ค�าแนะน�า วิธีการ ความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วต่อสภาวการณ์ในปัจจุบัน
หรือกระบวนการ ที่จัดท�าขึ้นเพื่อช่วยให้องค์กร เตรียมความพร้อม สุดท้ายนี้ขอขอบคุณผู้อ่านทุกท่านและหวังเป็นอย่างยิ่งว่า
และสามารถตอบสนองต่อการเกิดอุบัติเหตุ ภัยพิบัติ ภาวะฉุกเฉินหรือ คอลัมน์นี้จะเป็นประโยชน์ส�าหรับหลายๆ ท่าน ไม่มากก็น้อย เพื่อให้
ภัยคุกคามรูปแบบต่างๆ โดยไม่ต้องหยุดการด�าเนินงาน เช่น การกู้คืน ทุกท่านได้ตระหนักถึงความส�าคัญของการเตรียมความพร้อมส�าหรับ
ระบบ การกู้คืนทรัพยากร และกระบวนการท�างาน ให้ธุรกิจสามารถ แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ และประโยชน์มากมายที่ท่านจะได้รับ
ด�าเนินต่อไปได้หรือสามารถให้บริการต่อไปได้นั่นเอง หากมีการเตรียมความพร้อมที่ดี
ตอนนี้จะขอยกตัวอย่างการหยุดชะงักของธุรกิจที่เคยเกิดขึ้น หากองค์กรใดที่ก�าลังประสบปัญหาและติดขัดในการ
และความเสียหายที่ตามมากันครับ เตรียมความพร้อมในธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นขาดพื้นที่ส�าหรับส�านักงาน
• ในปี 2013 Google เกิดเหตุหยุดชะงักการให้บริการไป ฉุกเฉิน โครงข่ายการสื่อสารไม่เพียงพอ ไม่มีพื้นที่ส�าหรับวางระบบ
เป็นเวลา 5 นาที ส่งผลให้เกิดมูลค่าความเสียหายกว่า 500K USD ส�ารองให้กับองค์กรท่านเอง บริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ เทเลคอม จ�ากัด (มหาชน)
(แหล่งที่มา : GoSquared) เรามีบริการเหล่านี้พร้อมรองรับเหตุฉุกเฉินของลูกค้าในทุกรูปแบบ
• ระบบสายการบินเดลต้าล่ม ท�าให้ต้องยกเลิกเที่ยวบิน เพื่อให้การด�าเนินธุรกิจของท่านเป็นไปอย่างต่อเนื่องไม่มีสะดุด
740 เที่ยว ส่งผลให้เกิดมูลค่าความเสียหายกว่า 150 ล้านเหรียญ
5 | I-TEL I-TEL | 6