Page 12 - E-MAGAZINE_VOL_43
P. 12

I - Trend | กองบรรณาธิการ




























            Digital Twins



            กับการสร้างมูลค่าเพิ่มทางธุรกิจ



                                                                                                                                        การน�า Digital Twins มาใช้อาจจะก่อให้เกิดการเพิ่มมูลค่า

                 ปัจจุบันเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) คือ การที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ สามารถเชื่อมโยงหรือส่งข้อมูล    ทางธุรกิจ ดังนี้
                                                                                                                                        1. ด้านคุณภาพสินค้า จากคุณสมบัติของ Digital Twin ที่
          ถึงกันได้ด้วยอินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องป้อนข้อมูล การเชื่อมโยงนี้ง่ายจนท�าให้เราสามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์         สามารถคาดการณ์ ตรวจสอบแนวโน้มความผิดพลาดและข้อบกพร่อง
          อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้ ไปจนถึงการเชื่อมโยงการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ผ่านทาง     ได้ในระหว่างการผลิต ท�าให้สามารถทราบถึงปัญหาและแก้ไขปัญหา

          เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเข้ากับการใช้งานอื่นๆ นอกจากนี้ มีการน�าแนวคิด IoT ไปสร้างนวัตกรรมใหม่หรือต่อยอดนวัตกรรมเดิม      ได้ทันที ส่งผลให้คุณภาพของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ดีขึ้นและเป็นการ
          เพื่อเพิ่มมูลค่าทางธุรกิจ และสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน กล่าวคือ น�า IoT มาประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีการประมวลผล      ลดเวลาในการผลิต
          แบบคลาวด์ผ่านกระบวนการเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ประกอบกับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมากมาย               2. ด้านค่าใช้จ่ายในการด�าเนินการ Digital Twins ท�าให้
          (Big Data) ท�าให้เกิดการเรียนรู้ของเครื่องจักร (Machine Learning) จะท�าให้เกิดความฉลาดมากขึ้น จนสามารถสร้างแบบ         กระบวนการออกแบบผลิตภัณฑ์ท�าได้ง่ายขึ้น สามารถตอบโจทย์ลูกค้า

          จ�าลองของสิ่งต่างๆ ในรูปแบบ “เสมือน” ที่เป็นดิจิทัลหรือที่เรียกว่ากัน คู่เสมือนดิจิทัล (Digital Twins) ซึ่งเหมือนกับการเป็น  มากขึ้น รวมถึงเพิ่มประสิทธิภาพในการท�างานและอุปกรณ์ที่ใช้ใน
          ฝาแฝดกันกับกายภาพนั่นเอง                                                                                               การผลิตสินค้า รวมทั้งลดความไม่แน่นอนในกระบวนการท�างาน
                                                                                                                                 เนื่องจากได้รับข้อมูลเชิงลึกของอุปกรณ์ ท�าให้สามารถท�าการทดสอบ
                 แนวคิด Digital Twins มีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่อง โดย     โดยคู่เสมือนที่ถูกสร้างขึ้นมายังสามารถอัปเดตการเปลี่ยนแปลง  บนส�าเนาหรือคู่เสมือนแทนอุปกรณ์จริง ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงที่
          เปิดตัวครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2545 ณ มหาวิทยาลัยมิชิแกน โดยจัดเป็น  ตามคู่ของตนเองได้ตลอด เพราะมีการใช้เซ็นเซอร์ (Sensor) เพื่อส่งข้อมูล  อาจเกิดผลกระทบต่ออุปกรณ์จริง
          เทคโนโลยีหนึ่งที่เป็นรากฐานของอุตสาหกรรม 4.0 อย่างไรก็ตาม  ตรวจสอบและรายงานผลการท�างานแบบทันที (Real Time) เพื่อให้           3. ด้านต้นทุนค่าใช้จ่ายในการออกผลิตภัณฑ์ใหม่ Digital
          แนวคิดเริ่มต้นในเรื่องแบบจ�าลองเสมือนนั้นได้พัฒนามาจากองค์การ  คู่เสมือนดิจิทัลมีคุณสมบัติและพฤติกรรมที่เหมือนกันมากที่สุด  Twins ช่วยลดค่าใช้จ่ายและระยะเวลาในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่
          นาซ่าที่จ�าลองรูปแบบของแคปซูลอวกาศ โดยการสร้างระบบที่ซ�้าซ้อน  จึงจ�าเป็นต้องอาศัยการป้อนข้อมูลของแฝดทางกายภาพ ซึ่งต้องอาศัย  เนื่องจากการรวบรวมข้อมูลทั้งในอดีตและปัจจุบันแล้วน�ามาพัฒนา
          ทางกายภาพในระดับพื้นดินเพื่อให้ตรงกับระบบในอวกาศ ด้วยแนวคิด  ทั้งการประมวลผล วิเคราะห์ วางแผน และคาดการณ์สถานการณ์     สินค้าที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้มากขึ้น
          เช่นนี้จึงท�าให้เกิดการพัฒนาต่อมาจนกลายเป็นเทคโนโลยีเชิงกลยุทธ์  ล่วงหน้าจากข้อมูล โดยคุณสมบัติและการแสดงออกทุกอย่างนั้น      4. ด้านการรับประกันและการให้บริการ Digital Twins
          ที่สามารถประยุกต์ใช้ในด้านธุรกิจและด้านอุตสาหกรรม โดย Digital Twins  จะเหมือนกับต้นฉบับหรือของจริง ท�าให้สามารถท�าการวิเคราะห์และ  ท�าให้เข้าใจสถานการณ์ท�างานในปัจจุบันของอุปกรณ์เพื่อให้เกิด
          สามารถจ�าลองได้ทั้งวัตถุทางกายภาพ กระบวนการสายการผลิตหรือ  ทดสอบคู่เสมือนดิจิทัลในสถานการณ์ตามที่ต้องการแทนการทดสอบ    การบริการกับลูกค้าที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีความถูกต้อง
          แม้แต่ระบบให้ออกมาเหมือนต้นแบบมากที่สุด ทั้งในแง่ของคุณสมบัติ  กับต้นแบบทางกายภาพ ซึ่งผลลัพธ์จากการทดสอบที่เกิดขึ้นกับ  และแม่นย�าในการรับประกันสินค้าซึ่งเป็นการลดค่าใช้จ่ายในการ
          และพฤติกรรม หรือกล่าวได้ว่าในโลกของ Digital Twins นั้นจะมีอยู่  คู่เสมือนดิจิทัลก็จะให้ผลลัพธ์เช่นเดียวกันกับคู่เสมือนทางกายภาพ  ประกันสินค้าได้
          สองรูปแบบเสมอคือ                                                                                                              เห็นอย่างนี้แล้วในอีกด้านหนึ่ง ผู้อ่านลองคิดเล่นๆ ว่า  ขอขอบคุณข้อมูลจาก : ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนา
          1. รูปแบบทางกายภาพ (Physical) ซึ่งมีตัวตนและจับต้องได้ใน                                                               ยิ่งเกิดการเชื่อมต่อมากขึ้นเท่าไหร่ ก็ก่อให้เกิดสภาวะที่ส่งเสริมการพัฒนา  อุตสาหกรรมและธุรกิจ ส�านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล
          โลกแห่งความจริง                                                                                                        นวัตกรรมที่จะส่งผลให้มีโอกาสเติบทางเศรษฐกิจมากขึ้น ภาคธุรกิจ
          2. คู่เสมือนดิจิทัล ซึ่งมีลักษณะเป็นซอฟต์แวร์แบบจ�าลองวัตถุทาง                                                         และองค์กรจะก้าวทันต่อการเปลี่ยนแปลงนี้ได้ ก็ต่อเมื่อมีระบบรองรับ
          กายภาพ                                                                                                                 ที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ


         9 |  I-TEL                                                                                                                                                                                                         I-TEL |  10
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17