Page 12 - E-MAGAZINE_VOL_37
P. 12
I - Trend | กองบรรณาธิการ
แนวโน้มอนาคต AI
ในประเทศไทย
หากพูดถึงค�าว่า AI เชื่อว่าผู้อ่านหลายๆ คนอาจนึกถึงภาพของหุ่นยนต์หรือจักรกลที่สามารถท�าสิ่งต่าง ๆ ได้แทนมนุษย์
อย่างอัตโนมัติ เหมือนที่เห็นกันบ่อยๆ ในภาพยนตร์ทั่วไป แต่ AI แท้จริงแล้วมีทั้งส่วนที่เป็นฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ โดยถ้า
ยกตัวอย่างการสร้างหุ่นยนต์เหมือนมนุษย์ (Humanoid) ปัญหาของ AI ส่วนฮาร์ดแวร์ ก็เช่น จะใช้วัสดุอะไรสร้างอวัยวะแต่ละส่วน
ให้หุ่นยนต์ เพื่อให้รวมๆ กันแล้วหุ่นยนต์นี้มีสมรรถนะทางกายภาพ (ฮาร์ดแวร์) เพียงพอที่จะท�าอะไรๆ ได้เหมือนมนุษย์ เช่น
ยืนทรงตัวสองขาได้ เต้นร�าได้ ล้มแล้วลุกได้ กระโดดข้ามสิ่งกีดขวางได้ ว่ายน�้าได้ ฯลฯ และในปัญหาของ AI ส่วนซอฟต์แวร์
หรือส่วนที่เป็นสมองกล เช่น ท�าอย่างไรให้หุ่นยนต์สามารถเข้าใจภาพและเสียงที่ได้เห็นและได้ยิน ณ ขณะหนึ่งๆ ได้ สามารถคิด
และตัดสินใจในสถานการณ์เฉพาะหน้าได้ สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เองจากประสบการณ์ที่พบเจอในแต่ละวันได้แต่ด้วยความ
ประจวบเหมาะหลายอย่างในโลกปัจจุบัน ทั้งความก้าวหน้าในการวิจัยเทคนิคด้าน AI ความก้าวหน้าในด้านพลังประมวลผลของ
คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ และความก้าวหน้าในด้านจ�านวนข้อมูลที่มีมากมายมหาศาลท�าให้ระบบสมองกล AI สามารถเข้าถึงได้ง่ายขึ้น
โดยหลายบริษัทก็มุ่งพัฒนา AI มาใช้ประโยชน์ ซึ่งหากแบ่งตามภาคธุรกิจต่างๆ หรือแม้กระทั่งภาครัฐแล้ว มาดูต่อถึงแนวโน้ม
การใช้งาน AI ในอนาคตกัน
ด้าน Logistic ด้านการศึกษา
ด้วยเทคโนโลยี AI ที่พัฒนาอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง และ ด้วยความสามารถของ AI จะช่วยลดเวลาการท�างาน ดังนั้น
สามารถน�าไปประยุกต์ใช้งานเพิ่มเติมในอุตสาหกรรม Logistic ตัวอย่างเช่น AI อาจสามารถช่วยครูในการท�ากิจกรรมที่ต้องซ�้าๆ อย่างการตรวจ
การต่อยอดประสบการณ์ของลูกค้า (Customer Experiences) การบ้านได้ เช่น การตรวจการบ้านที่เป็นตัวเลือก ก็สามารถใช้ AI มาช่วย
ผ่านการสนทนา และยังสามารถคาดเดาพฤติกรรมเพื่อวางแผนจัดส่ง เพื่อให้เวลาครูได้มีเวลาที่จะพัฒนาท�ากิจกรรมอย่างอื่นกับนักเรียน
สินค้าล่วงหน้าก่อนที่ลูกค้าจะสั่งซื้ออีกด้วยโดยภาค Logistic สามารถ มากขึ้น
น�า AI เข้ามาเปลี่ยนแปลงรูปแบบการด�าเนินงานตั้งแต่ส่วนของระบบ
หลังบ้าน งาน Operation และการให้บริการลูกค้าด้วยความสามารถ
ด้านการคาดเดาเหตุการณ์ ที่ได้ข้อมูลเชิงลึกมากกว่าและเสียค่าใช้จ่าย
น้อยกว่า
9 | I-TEL