Page 7 - E-MAGAZINE_VOL_19
P. 7
2. IoT Analytics 5. Low-Power Wide-Area Networks
อุปกรณ์ IoT จะเก็บข้อมูลเข้ามาเป็นปริมาณมหาศาล และเก็บ การใช้งานระบบ Cellular แบบเดิมไม่สามารถใช้งานกับอุปกรณ์
ข้อมูลแบบ Real-time ท�าให้ระบบ Analytics แบบเดิมๆไม่สามารถใช้งาน IoT ที่ต้องส่งข้อมูลระยะไกลได้ เนื่องจากจะท�าให้ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นเพราะมี
กับ IoT ได้อย่างเต็มความสามารถ การท�า Analytics จึงต้องมีการปรับเปลี่ยน การใช้งานอุปกรณ์เป็นจ�านวนมาก และการส่งข้อมูลแบบ Wide-area จะ
รูปแบบการท�างานใหม่ ให้เข้ากับพฤติกรรมของ IoT เพื่อให้ธุรกิจสามารถ ต้องรองรับการส่งข้อมูล Bandwidth ต�่า เพื่อให้อุปกรณ์ยังคงสามารถใช้งาน
น�าข้อมูลต่างๆ มาท�า Analytics ได้อย่างมีประสิทธิภาพและตอบรับกับสิ่งที่ พลังงานในระดับต�่าต่อไปได้ ท�าให้เทคโนโลยี Wide-area IoT Network
เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็วมากขึ้นหมายความว่า Sensor แต่ละตัวจะส่งค่าที่ ในอนาคตจะใช้การส่งข้อมูลในหลักกิโลบิตต่อวินาที (kbps) ผ่านระบบ
ตรวจวัดได้มาให้กับระบบประมวลผลที่ได้มีการเขียนค�าสั่งที่เกี่ยวข้องไว้แล้ว เครือข่ายที่ครอบคลุมเป็นวงกว้าง และยังคงสามารถรักษาแบตเตอรี่ให้ใช้งาน
ให้ออกมาเป็นค�าสั่งในการปฏิบัติการต่อไปแบบ Real time ทุกอย่างจึงต้อง ได้อย่างต่อเนื่องถึง 10 ปี ซึ่งฮาร์ดแวร์ของอุปกรณ์ปลายทางจะต้องสร้างให้
กระท�าโดยทันที เพราะหากช้าผลลัพธ์หรือค�าสั่งที่ได้ก็จะไม่ตรงกับสิ่งที่ มีราคาถูกที่สุด ซึ่งอาจจะมีราคาแค่ประมาณ 5 เหรียญเท่านั้น ในขณะที่ต้อง
ต้องการเพราะตัวแปรเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ยกตัวอย่างเช่น คนเข้ามาใน ออกแบบให้รองรับการเชื่อมต่อกับ Base Station และอุปกรณ์อื่นๆ ได้
ห้องมากๆ ระบบวัดได้จะส่งค�าสั่งไปให้ระบบปรับอากาศท�างานหนักขึ้น นับพันชิ้น โดยเทคโนโลยี Low-power Wide-area network (LPWANs)
เพื่อรักษาความเย็นของห้องเอาไว้ เป็นต้น ในระยะแรกจะใช้เทคโนโลยีที่เป็นมาตรฐานของผู้ผลิตรายใดรายหนึ่ง
(proprietary) แต่ในระยะยาวแล้วจะมีการร่างมาตรฐานขึ้นมาให้สามารถ
3.IoT Device (Thing) Management ใช้งานร่วมกันได้ เช่น Narrowband IoT (NB-IoT)
อุปกรณ์ IoT ปลายทางจะมีจ�านวนมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งอุปกรณ์
เหล่านี้จ�าเป็นต้องมีระบบมาควบคุม เพื่อใช้บริหารจัดการ รวมทั้งท�าการ
สอดส่องดูแลการท�างานอยู่ตลอดเวลา ซึ่งระบบบริหารจัดการต้องมีความ
สามารถครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นการ Monitoring, อัพเดตเฟิร์มแวร์และ
ซอฟต์แวร์, รองรับการท�า Debugging, มีระบบรักษาความปลอดภัย และ
สามารถออกรายงานสถานะของอุปกรณ์ปลายทางทั้งหมดได้ ซึ่งระบบบริหาร
จัดการต้องสามารถรองรับอุปกรณ์หลักพันชิ้น บางทีอาจมีจ�านวนถึงล้านชิ้น
ก็เป็นได้เพราะหากมีอุปกรณ์แต่ขาดระบบการบริหารจัดการแล้วนั้น ปัญหา
ที่เกิดขึ้นในระบบจะยากเกินกว่าจัดการได้
4.Low-Power, Short-Range IoT Networks 6. IoT Platforms
การเลือกระบบเครือข่ายส�าหรับ IoT ก็มีความส�าคัญไม่แพ้กัน IoT Platforms จะเป็นการรวมส่วนประกอบหลายๆ ส่วนที่จ�าเป็น
เนื่องจากอุปกรณ์ IoT มีข้อจ�ากัดหลายด้าน ไม่ว่าจะเป็นระยะทางที่ส่งข้อมูลได้, ส�าหรับการพัฒนาระบบ IoTเข้าด้วยกันเป็นผลิตภัณฑ์เดียว ซึ่งจะมีส่วน
มีแบตเตอรี่น้อย, ใช้งาน Bandwidth ได้ต�่า ดังนั้นเทคโนโลยีระบบเครือข่าย ประกอบ 3 ส่วนหลัก ได้แก่
ที่ใช้พลังงานการส่งข้อมูลต�่า และส่งข้อมูลในระยะสั้นๆ จะมีความส�าคัญ 1. Low-level device control and operation : รองรับการควบคุม
เป็นอย่างมากในการใช้ IoT เพราะอย่าลืมว่าการท�างาน IOT นั้นจะท�างาน การสื่อสารของอุปกรณ์ การตรวจสอบดูแลและมีระบบรักษาความปลอดภัย
ลักษณะไม่หยุดหย่อน หากมีอุปกรณ์ตัวใดตัวหนึ่งไม่ท�างานหรือแบตเตอรี่หมด ในตัวเอง
ระบบก็จะไม่สมบูรณ์ 2. IoT data : รองรับการอ่านข้อมูลที่ส�าคัญอย่างครบถ้วนและต้องสามารถ
บริหารจัดการข้อมูลได้
3. IoT application development : รองรับการพัฒนาแอพพลิเคชัน
ที่น�าข้อมูลจากอุปกรณ์ IoT มาใช้งาน รวมไปจนถึงการท�า Visualization,
Analytics และต้องมีความสามารถในการเชื่อมต่อไปยังระบบอื่นๆ ที่ใช้งาน
อยู่ภายในองค์กรได้
ยังมีส่วนประกอบอื่นๆ อีกมากมายที่เกี่ยวข้องและมีความส�าคัญ อย่างไรแล้วอยากให้ผู้อ่านทุกท่านจับตาดูการมาของเทคโนโลยี IOT เพราะจะ
เปลี่ยนวิถีชีวิตของเราไปเลยทีเดียว เรียกได้ว่าอาจจะเป็นโลกที่ทุกอย่างท�างานอย่าง Automatic เลยก็ได้ครับ
I-TEL | 4