Page 16 - E-MAGAZINE_VOL_18
P. 16
I - Horo | กองบรรณาธิการ
ชวนคนไทย ท�ำบุญไหว้พระ
วัดประจ�ำรัชกำล ที่ 1-9
ประเทศไทย นับถือศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจ�าชาติ โดยมีวัดเป็นศูนย์กลางของชุมชนทั้งในเรื่องของการประกอบพิธี
ทางศาสนาและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ คนไทยจึงอยู่คู่กับการท�าบุญ เข้าวัด มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันและไม่ใช่แค่เราเท่านั้น
ส�าหรับพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์จักรีไทย ทรงได้มีการสร้างวัดประจ�าพระองค์ขึ้นตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 เป็นต้นมาจวบจนถึง
รัชกาลที่ 9 เช่นกัน ทุกพระองค์ทรงเป็นผู้ทรงไว้ซึ่งธรรมและเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภกอย่างแท้จริง เพื่อเป็นต้อนรับปี
พุทธศักราช 2560 หนึ่งในกิจกรรมที่คนไทยนิยมกันมากที่สุดคือ การเดินสายไหว้พระขอพร เพื่อให้ชีวิตรุ่งเรือง ปลอดภัย มีความ
สุข และราบรื่นกันไปตลอดไป ฉบับนี้ I-HORO จะพาทุกท่านมาท�าบุญไหว้พระประจ�ารัชกาล ที่ 1-9 กันค่ะ
วัดประจ�ารัชกาลที่ 1 วัดประจ�ารัชกาลที่ 2
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร หรือ วัดโพธิ์ท่าเตียน วัดอรุณราชวรารามวรมหาวิหารหรือวัดแจ้ง เป็นวัดโบราณ
เป็นวัดส�าคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทยและเป็นวัดประจ�ารัชกาลพระบาท จากหลักฐานเชื่อว่าสร้างในสมัยอยุธยา เดิมเรียกว่า วัดมะกอกนอก ต่อมา
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เปรียบเสมือนเป็นมหาวิทยาลัย ในสมัยรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าให้อัญเชิญพระบรมราชสรีรางคาร
แห่งแรกของประเทศด้วย เนื่องจากเป็นที่รวมจารึกสรรพวิชาหลายแขนง ของรัชกาลที่ 2 มาบรรจุที่พุทธอาสน์ของพระพุทธธรรมมิศรราชโลกธาตุดิลก
นอกจากนี้ทางยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกความทรงจ�าโลกของภูมิภาค พระประธานในอุโบสถวัดอรุณฯ ได้รับการบูรณะปฏิสังขรณ์ใหม่ทั้งพระอาราม
เอเชียแปซิฟิก เมื่อ มีนาคม พ.ศ. 2551 อีกด้วยมีหลักฐานปรากฏในศิลาจารึก โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อเสด็จขึ้นครองราชสมบัติ
ไว้ว่า หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรง จึงโปรดให้สร้างพระอุโบสถและพระวิหารต่อจนแล้วเสร็จ พร้อมทั้งทรง
สถาปนาพระบรมมหาราชวังแล้ว ทรงพระราชด�าริว่า มีวัดเก่าขนาบ ปั้นหุ่นพระพุทธรูปด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เอง โปรดให้หล่อขึ้นประดิษฐาน
พระบรมมหาราชวัง 2 วัด ด้านเหนือคือวัดสลัก (วัดมหาธาตุฯ) ด้านใต้ เป็นพระประธานในพระอุโบสถ ทรงพระราชทานนามวัดใหม่ว่า วัดอรุณ
คือวัดโพธาราม จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขุนนางเจ้าทรงกรม ช่าง ราชธาราม ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 3 ได้มีการก่อสร้างพระปรางค์องค์ใหญ่
สิบหมู่อ�านวยการบูรณะปฏิสังขรณ์ เริ่มเมื่อปี พ.ศ. 2331 ใช้เวลา 7 ปี ซึ่งมีความสูง 82 เมตร กว้าง 234 เมตร แต่มาเสร็จสมบูรณ์ ในสมัยรัชกาล
5 เดือน 28 วัน จึงแล้วเสร็จและโปรดฯ ให้มีการฉลองเมื่อ พ.ศ. 2344 ที่ 4 และได้เปลี่ยนชื่อเป็น “วัดอรุณราชวราราม”
พระราชทานนามใหม่ว่า “วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาวาส”
นอกจากนี้ที่ใต้พระแท่นประดิษฐานพระพุทธเทวปฏิมากร
พระประธานในพระอุโบสถเป็นที่บรรจุพระบรมอัฐิของพระองค์ท่านไว้ด้วย
ต่อมา รัชกาลที่ 4 ได้โปรดฯ ให้เปลี่ยนท้ายนามวัดเป็น “วัดพระเชตุพน
วิมลมังคลาราม”
13 | I-TEL