Page 7 - E-MAGAZINE_VOL_14
P. 7

I - Trend | คุณณัฐนัย อนันตรัมพร







          2. Digital Economy ซึ่งให้ความส�าคัญกับภาคอุตสาหกรรมที่มีการเอา
          เทคโนโลยีเข้ามาปรับใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านธุรกิจที่เพิ่มมากขึ้น
          ในด้านเทคโนโลยีแล้วนั้นมีการพูดถึงตัวอย่างองค์กรที่น�าเอาเทคโนโลยีมา
          ใช้งานให้เกิดประโยชน์ทางด้านประสิทธิภาพในการท�างาน เช่น การเสิร์ฟ
          อาหารซึ่งสามารถท�างานได้อย่างแม่นย�าและเคลื่อนที่ไปได้ทั่วทั้งร้าน อีก
          ทั้งยังจดจ�าใบหน้าและโต้ตอบกับลูกค้าที่เข้ามาใช้งานได้อย่างเป็นกันเอง
          ท�าให้เกิดความประทับใจของผู้มาใช้งานและยังเพิ่มประสิทธิภาพอีกด้วย

          3. Digital Society ซึ่งให้ความส�าคัญกับการน�าเอาเทคโนโลยีมาพัฒนา
          สังคมไม่ว่าจะเป็นด้านการแพทย์หรือการศึกษาเป็นต้น ทั้งนี้รัฐบาลพยายาม
          ที่จะผลักดันเทคโนโลยีดังกล่าวให้มากขึ้นเพราะมีความเชื่อว่า 2 ด้านนี้มีผล
          ท�าให้ประเทศเติบโตไปข้างหน้าได้เพราะถ้าประชาชนมีการศึกษาที่ดีและ
          สุขภาพที่ดีจะเป็นการพัฒนาในทางอ้อม โดยงานมีการพูดถึงเทคโนโลยี
          เช่น เทคโนโลยีที่จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถตรวจวัดระดับความดันและค่าน�้าตาล
          หรือตัวชี้วัดทางด้านสุขภาพอื่นๆ ได้เองและส่งผลไปยังหน่วยงานที่ดูแล
          ด้านสุขภาพ เช่น แพทย์ ท�าให้ผู้ป่วยสามารถได้รับการดูแลโดยไม่ต้องเดินทาง
          ไปยังโรงพยาบาลเป็นต้น หรือ เทคโนโลยีทางด้าน Smart Classroom ที่ผู้สอน
          สามารถสื่อสารและโต้ตอบระหว่างนักเรียนได้แม้ที่อยู่ในห้องเรียนหรือไม่อยู่
          ในห้องเรียน ท�าให้การเรียนรู้นั้นเปิดกว้างและมีการโต้ตอบหรือแลกเปลี่ยน
          ความคิดเห็นกันมากขึ้น
 Digital Thailand 2016  4. Digital Government ซึ่งให้ความส�าคัญกับระบบงานของภาครัฐที่เข้า  6. Digital Trust ซึ่งให้ความส�าคัญกับเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี

          มามีส่วนเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีและผู้ใช้งาน ในปัจจุบันผู้ใช้งานส่วนมาก
          ต้องการความสะดวกรวดเร็วมากขึ้นท�าให้ภาครัฐเองก็ได้มีการปรับเปลี่ยน  ที่เกี่ยวข้องกับระบบความปลอดภัย และรวมถึงระบบการโอนเงินต่างๆ
                                                              มีการน�าเสนอเทคโนโลยีต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการท�าธุรกรรมบางอย่างที่
    ในช่วงเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมามีงานระดับประเทศ “ดิจิตอลไทยแลนด์ 2016” จัดโดยกระทรวง  วิธีการโดยน�าเอาเทคโนโลยีเข้ามาบังคับใช้ในหลายส่วนโดยเฉพาะส่วนที่  ต้องการความปลอดภัยพิเศษเช่นการโอนเงิน โดยมีการพูดถึง Prompt Pay

 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หรือ ไอซีที โดยจุดประสงค์หลักของการจัดงานดังกล่าวคาดหวัง  ต้องเกี่ยวข้องกับผู้ใช้งาน ได้มีการพูดถึงการด�าเนินการด้านภาษีที่สามารถ  ที่จะเข้ามามีบทบาทกับเราในอนาคตมากขึ้นซึ่งริเริ่มโดยกระทรวงการคลัง
                                                              ที่ตั้งใจจะเปลี่ยนแปลงระบบการช�าระเงินแบบใหม่ โดยบัตรประชาชน
          ท�าให้รวดเร็วขึ้นได้อีกหลายเท่า หรือการต่อทะเบียนและภาษีรถยนต์ที่ไม่
 ว่างาน “ดิจิตอลไทยแลนด์ 2016” จะเป็นงานระดับชาติที่ท�าให้นานาชาติที่จะโชว์ 6 ยุทธศาสตร์ด้าน  ต้องเดินทางไปเพื่อตรวจสภาพและต่อภาษีอีกต่อไป  แบบชิพ (SmartCard) โดยใช้ชื่อว่า Any ID ก่อนที่จะมาเป็นชื่อ PROMPT PAY
 ดิจิตอลให้เห็นเป็นนามธรรม                                    (พร้อมเพย์) โดยเกิดขึ้นจากนโยบายของทางรัฐบาล ซึ่งประเทศไทยมีแนวคิด
          5. Digital Workforce ซึ่งให้ความส�าคัญกับการพัฒนาบุคลากรที่มีอยู่ใน  ส่งเสริมเกี่ยวกับ Digital Economy (เศรษฐกิจดิจิทัล) ท�าให้กระทรวง
    ทั้งนี้บริษัทได้เข้าร่วมน�าเสนอในงานดังกล่าวรวมถึงยังได้รับความร่วมมือจาก บริษัทชั้นน�าทั้งในประเทศและต่างประเทศ   ปัจจุบันให้มีความพร้อมต่อยุคที่มีการใช้งานเทคโนโลยีเพิ่มมากขึ้น เนื่องจาก  การคลังผลักดันระบบการช�าระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ National
 อาทิ TRUE, IBM, AIS, DTAC, TOT, กสทช., Huawei, Minebea, Lazada, NECTEC, Microsoft, Intel, Samsung และกลุ่ม  บุคลากรมนุษย์ยังคงเป็นบุคลากรส�าคัญในการผลักดันให้เกิดการใช้งาน  e-Payment โดย PROMPT PAY คือ บริการโอนเงินและรับเงินโอนแบบใหม่
 ธนาคารต่างๆ ฯลฯ น�าผลงานและนวัตกรรมสมัยใหม่มาจัดแสดง เช่นกันโดยมีจุดมุ่งหมายหลักว่าจะเป็นงานที่ช่วยให้ผู้เข้าชมงาน  เทคโนโลยี ท�าให้เราจ�าเป็นที่จะต้องให้ความส�าคัญที่จะให้ความรู้และปรับ  โดยผูกบัญชีเงินฝากธนาคารกับ หมายเลขบัตรประชาชน หรือเบอร์โทรศัพท์มือถือ
 ได้เห็นภาพที่ชัดเจนของแผนพัฒนาดิจิตอลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ในภาพรวมทั้ง 6 ยุทธศาสตร์ ประกอบไปด้วย  เปลี่ยนวิธีการท�างานให้เหมะสมกับเทคโนโลยีที่น�ามาใช้ ในงานจึงมีการน�า  ซึ่งจะท�าให้ประชาชนโอนเงินสะดวกง่ายขึ้น แค่จ�าหมายเลขบัตรประชาชน
          เอาเรื่องการ Training เข้ามาเกี่ยวข้องด้วย          ปลายทางที่จะโอน หรือจ�าหมายเลขโทรศัพท์มือถือ ไม่ต้องจดหมายเลข
 1. Digital Connectivity ซึ่งจะมุ่งเน้นถึงความส�าคัญของระบบโครงสร้าง  บัญชีเงินฝากธนาคารที่ยาวและจ�ายาก บริการนี้ด�าเนินการโดยธนาคาร
 พื้นฐานที่จะเป็นประโยชน์หรือตัวเชื่อมให้เข้าสู่โลกยุคดิจิตอลได้อย่าง  แห่งประเทศไทยและธนาคารพาณิชย์ทุกแห่ง ได้ร่วมมือพัฒนาขึ้น เพื่อสนับสนุน
 สมบูรณ์แบบ โดยหลักๆโครงสร้างพื้ฐานทางด้านโทรคมนาคมได้ถูกหยิบยก  ระบบการช�าระเงินแบบ Any ID ภายใต้โครงการ National e-Payment
 ขึ้นมาเป็นประเด็นหลักในการพัฒนาประเทศโดยโครงสร้างพื้นฐานที่ส�าคัญ  ลดการใช้เงินสดในการพกเงินเยอะๆ ใช้จ่ายผ่านทาง e-payment มากขึ้น
 ที่สุดคือโครงสร้างพื้นฐานที่เป็นไฟเบอร์ออฟติค เพราะสามารถรองรับการ  ง่ายด้วยปลายนิ้วทั้งนี้ PROMPT PAY ในเฟสแรก เริ่มที่ประชาชนทั่วไปก่อน
 ส่งผ่านข้อมูลได้อย่างมหาศาล อีกทั้งผู้ให้บริการส่วนมากรวมถึงบริษัทฯ  เพื่อให้บัญชีธนาคารผูกกับบัตรประชาชน และหมายเลขโทรศัพท์ ซึ่งใน
 เองนั้นก็ได้หันมาลงทุนในส่วนนี้เพิ่มมากขึ้นและมีความครอบคลุมเพิ่มขึ้น  อนาคตการรับเงินภาษีคืน การรับเบี้ยยังชีพทั้งผู้สูงอายุและคนพิการ ก็ด�าเนิน
 อย่างต่อเนื่อง รัฐบาลเองก็ให้ความสนใจโดยมีการสนับสนุนเรื่องของโครงสร้าง  การผ่านทาง Prompt Pay เช่นกัน ซึ่งจะไม่ต้องรับเช็คไปสาขาธนาคารเพื่อ
 พื้นฐานของประเทศ เพื่อให้เกิดการเข้าถึง หรือ National Broadband  รับเงินแล้ว เพราะรัฐบาลจ่ายเงินให้เราทาง PROMPT PAY ทันที และยัง
 หรือการจัดตั้งกองทุนเพื่อดูแลในส่วนนี้อีกด้วย                สามารถโอนเงินให้ญาติ หรือเพื่อนๆ กันเอง หรือคนอื่นๆ ได้ด้วย และจะ

                                                              รองรับโอนเงินกับร้านค้าต่างๆ ในอนาคต



 3 |  I-TEL                                                                                           I-TEL |  4
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12