Page 15 - E-MAGAZINE_VOL_14
P. 15

I - Health | กองบรรณาธิการ




          อาการทางร่างกาย
                 • ร้อนวูบวาบ เป็นอาการทางร่างกายที่พบได้บ่อยที่สุดในสตรีวัยทองและเป็นอาการ
          ที่ส่งผลให้คุณภาพชีวิตลดลง อาการที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่จะเป็นอาการร้อนตามตัวและใบหน้าซึ่ง
          อาจมีเหงื่อออกที่ใบหน้าร่วมด้วยได้ อาการนี้เกิดได้ทั้งกลางวันและกลางคืน เมื่อวัดอุณหภูมิ
          ของผิวหนังในช่วงที่เกิดอาการจะพบว่าอุณหภูมิของผิวหนังร้อนขึ้นหลายองศา อาการร้อน
          วูบวาบจะเกิดบ่อยในช่วงปีแรกที่หมดประจ�าเดือนและอาจมีอาการต่อเนื่องยาวนานไปจนถึง
          15 ปีหลังจากประจ�าเดือนหมด
                 • เหงื่อออกในตอนกลางคืน
                 • นอนไม่หลับ
                 • กลั้นปัสสาวะไม่ได้ ปัสสาวะบ่อย
                 • การตอบสนองต่อการกระตุ้นทางเพศลดลง เจ็บปวดเวลามีเพศสัมพันธ์และไม่ถึง  อาการทางจิตใจ
          จุดสุดยอด เนื่องจากช่องคลอดมีผนังบางลง การผลิตน�้าหล่อลื่นจากต่อมต่างๆ ภายในระบบ     เป็นอาการที่พบได้บ่อยไม่แพ้อาการ
          สืบพันธุ์ลดลง ท�าให้อาจกระทบต่อสัมพันธภาพและเกิดปัญหาครอบครัวตามมา   ทางร่างกาย ส่วนใหญ่อาการทางร่างกายและ
                 • มีอาการคัน แสบร้อน ระคายเคืองบริเวณช่องคลอด เนื่องจากเมื่อช่องคลอดแห้ง   จิตใจจะเกิดร่วมกันจนยากที่จะบอกว่าอาการ
          ผนังช่องคลอดบาง จะมีผลต่อความเป็นกรดด่างภายในช่องคลอด ความเป็นกรดจะลดลง ท�าให้  ใดเกิดขึ้นก่อน อาการทางจิตใจที่พบได้บ่อย
          เกิดการอักเสบติดเชื้อได้ง่ายขึ้น                                     คือ อาการซึมเศร้า หลงลืมง่าย สมาธิสั้น และ
 เรื่องน่ารู้    อาจมีความวิตกกังวลเนื่องมาจากการไม่ทราบสาเหตุที่แท้จริง       หงุดหงิดง่าย พบว่าอาการซึมเศร้าเป็นอาการ
                 • ใจสั่น เป็นอาการที่เกิดได้เป็นระยะ และไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ท�าให้ผู้หญิงวัยทอง
                                                                               ที่พบได้บ่อยที่สุดและมีผลต่อการอยู่ร่วมใน

                 • ปวดศีรษะไมเกรนปวดกระดูกและข้อ
                                                                               สังคมมากที่สุด
 ของคุณแม่วัยทอง                            การดูแลสุขภาพของสตรีวัยทอง


                                                    โดยทั่วไปแล้วสตรีวัยทองที่ไม่มีอาการหรือมีอาการน้อยสามารถที่จะดูแลสุขภาพของ
                                            ตนเองได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการด�ารงชีวิต ซึ่งได้แก่ อาหาร อารมณ์ ออกก�าลังกาย
 ขอขอบคุณข้อมูลจาก ผศ.นพ.พันธ์ศักดิ์ ศุกระฤกษ์   อนามัยเจริญพันธุ์และอนามัยสิ่งแวดล้อม อาหาร เลือกอาหารที่มีประโยชน์ มีแคลเซียมสูง
 สูตินรีแพทย์ ศูนย์สูตินรีเวช โรงพยาบาลบ�ารุงราษฎร์
                                            ลดอาหารจ�าพวกแป้งและน�้าตาล หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง เพิ่มอาหารที่มี
                                            เส้นใย ดื่มน�้ามากๆ
                                                    • ควบคุมอารมณ์และฝึกการมองโลกในแง่บวก มีอารมณ์ที่แจ่มใสอยู่เสมอ
                                                    • ออกก�าลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง นานครั้งละ 30 นาที
    เมื่อคุณแม่ของคุณย่างเข้าสู่วัยทอง คุณจะพบว่ามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นกับร่างกายและจิตใจของท่านมากมาย     • อนามัยเจริญพันธุ์ ตรวจสุขภาพประจ�าปีและเข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็ง
 สุขภาพของคนที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป มักจะมีปัญหาต่างๆ เช่น รอบเอวขยายเพิ่มขึ้นเพราะการเผาผลาญอาหารช้าลง กล้ามเนื้อของ  ปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นประจ�า
 กระเพาะอาหารไม่แข็งแรง ท�าให้รับประทานอาหารไม่ได้มากและรับประทานอาหารรสจัดไม่ได้ มีปัญหาปวดเมื่อยตามร่างกาย     • อนามัยสิ่งแวดล้อม พักอาศัยและท�างานในบริเวณที่มีสิ่งแวดล้อมที่สะอาดและสุข
 ผิวหนังแห้งกร้านขึ้น เส้นผมแห้งหยาบมากขึ้น อารมณ์หงุดหงิดแปรปรวนได้ง่าย มีอาการซึมเศร้า เป็นต้น ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ  อนามัยดี
 เหล่านี้ ท�าให้คุณแม่ในวัยทองเกิดความเครียดและอาจส่งผลให้คนใกล้ชิดรู้สึกเครียดตามไปด้วย เพราะฉะนั้นสิ่งที่ดีที่สุดที่เรา     ทั้งนี้หากได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการด�ารงชีวิตแล้ว แต่ยังคงมีอาการของ
 สามารถท�าได้ คือช่วยกันดูแลสุขภาพเพื่อให้ท่านสามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ เหล่านี้ได้ โดยวิธีการต่างๆ เหล่านี้…  วัยทองที่ท�าให้คุณภาพชีวิตแย่ลงหรือมีโรคที่เกี่ยวข้องกับวัยทอง ควรปรึกษาแพทย์เพื่อท�าการ
                                            ดูแลรักษา

 มาท�าความรู้จักกับ “วัยทอง”  อาการของสตรีวัยทอง  การรักษาอาการวัยทอง
    วัยทอง (menopause) ตามค�าจ�ากัด     สตรีวัยทองแต่ละรายอาจเกิด     การดูแลรักษาด้วยการใช้ฮอร์โมนทดแทน (hormone replacement therapy หรือ HRT) จัดเป็นการรักษามาตรฐาน (gold standard)
 ความขององค์การอนามัยโลก หมายถึง วัย  อาการวัยทองมากน้อยแตกต่างกันไป ตั้งแต่  ส�าหรับผู้หญิงวัยทองที่มีอาการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาอาการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในผู้หญิงวัยทอง ไม่ว่าจะเป็นการลดอาการร้อนวูบวาบ อาการ
 ที่มีการสิ้นสุดของการมีประจ�าเดือนอย่างถาวร  ไม่มีอาการจนกระทั่งมีอาการมากและกระทบ  ซึมเศร้า ความจ�าเสื่อม ปัญหาด้านระบบทางเดินปัสสาวะและระบบเจริญพันธุ์ เพื่อช่วยให้สตรีวัยทองมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทั้งนี้ สตรีวัยทองที่ได้
 เนื่องจากรังไข่หยุดการท�างาน และเป็นการ  ต่อความเป็นอยู่ในชีวิตประจ�าวัน อาการวัยทอง  รับฮอร์โมนทดแทนจ�าเป็นจะต้องได้รับการตรวจติดตามการรักษาอย่างน้อยปีละครั้ง และควรได้รับข้อมูลอย่างถูกต้องครบถ้วนถึงประโยชน์ที่
 หยุดความสามารถในการเจริญพันธุ์ โดยปกติ  อาจแบ่งออกได้เป็นอาการทางร่างกายและ  จะได้รับ ความเสี่ยงและอาการข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น
 จะนับเมื่อขาดประจ�าเดือนมาเป็นเวลาต่อเนื่อง  อาการทางจิตใจ ดังนี้     เพราะการเอาใจใส่ดูแลคุณแม่รวมถึงคนที่รัก ไม่ได้จ�ากัดอยู่เฉพาะช่วงเทศกาลวันแม่หรือเวลาใดเวลาหนึ่ง คุณแม่ทุกท่านไม่มีท่านใด
 นาน 12 เดือนหรือ 1 ปี ส�าหรับหญิงไทย อายุ  อยากหยุดสวยหรืออยากมีโรคภัยไข้เจ็บ แต่ด้วยอายุที่เพิ่มมากขึ้น ร่างกาย ผิวพรรณจะร่วงโรยไปตามกาลเวลา ลูกๆ ต้องคอยระวังและใส่ใจทุก
 เฉลี่ยที่จะเข้าสู่วัยทองคืออายุประมาณ 48 ปี  เรื่องเป็นพิเศษนะคะ


 11 |  I-TEL                                                                                         I-TEL |  12
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20