Page 15 - E-MAGAZINE_VOL_13
P. 15

1. การดูแลเรื่องความสะอาด ในฤดูฝนมักมี  2. โรคหวัดพบได้บ่อยในช่วงฤดูฝน จึงควร
                                            อากาศที่ร้อนชื้นเมื่อฝนหยุดตก อุณหภูมิจะ  สร้างความอบอุ่นให้แก่ร่างกายอยู่เสมอ ถ้า
                                            ลดลงเป็นอากาศเย็นท�าให้ร่างกายปรับตัวไม่ทัน  เปียกฝนก็ควรรีบท�าความสะอาดร่างกาย
                                            บ่อยครั้งอากาศร้อนชื้นในหน้าฝนคนมักจะ  ตั้งแต่ศีรษะโดยการสระผม เมื่อสระผมเสร็จ
                                            เป็นโรคเกี่ยวกับช่องท้องจ�านวนมาก เช่น  แล้วควรเช็ดผมให้แห้งเพื่อ ป้องกันการเกิด
                                            อาการท้องร่วง อาหารเป็นพิษ จึงควร  เชื้อราที่หนังศีรษะ พร้อมช�าระร่างกายให้สะอาด
                                            รับประทานอาหารที่สะอาด สด ใหม่ หรือถ้า  เช็ดตัวให้แห้ง จากนั้นก็เปลี่ยนใส่เสื้อผ้าที่อบอุ่น
                                            หลีกเลี่ยงที่จะซื้ออาหารส�าเร็จรูปที่ประกอบ  ดื่มน�้าอุ่นปรับอุณหภูมิร่างกาย อยู่ในที่อบอุ่น
                                            เสร็จแล้วไม่ได้ ก็ควรเลือกร้านค้าที่มีสถาน  ไม่เย็นจนเกินไป
                                            ประกอบการที่สะอาดถูกหลักอนามัย

          3. เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อ                               4. การออกก�าลังกายก็ถือเป็นสิ่งส�าคัญ ใน
          ร่างกายที่ให้วิตามินซี เพื่อป้องกันหวัดและ                           หน้าฝนควรเปลี่ยนที่ออกก�าลังกายมาเป็นใน
          ภูมิแพ้ เช่น ผักใบเขียว ให้สารอาหารที่มี                             ร่ม และควรเป็นสถานที่ ที่มีอากาศถ่ายเทได้ดี
          วิตามิน โปรตีนและผลไม้นานาชนิดที่ไม่มี                               ช่วงเวลาที่ดีในการออกก�าลังกาย คือ ช่วงเช้า
          รสหวานมากและมีความเป็นแป้งในตัว เช่น                                 เพราะร่างกายเพิ่ง ผ่านการพักผ่อนมา และ
          มะม่วงสุกเพราะเราต้องการกากใยช่วยเรื่อง                              ในยามเช้าอากาศก็ดีไม่ร้อน เมื่อออกก�าลังกาย
          การขับถ่ายเพราะการขับถ่ายเป็นการขับ                                  จะท�าให้สดชื่น ระบบการเผาผลาญไม่ท�างานหนัก
          เชื้อโรคช่องทางหนึ่งของร่างกาย



          5. การดื่มน�้าในหน้าฝน น�้าจ�าเป็นมากต่อ  6. การนอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอต่อร่างกาย
          ร่างกาย สมองคนเราต้องการน�้า 75% และ  ควรนอนอย่างน้อยวันละ 6 – 7 ชั่วโมง เพราะ
          ร่างกายมีน�้า 3 ใน 4 ของร่างกาย หากเรางด  ร่างกายต้องการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอจึงไม่
          การดื่มน�้าร่างกายจะขาดน�้า ดังนั้นเราควร  ควรนอนดึกซึ่งจะส่งผลให้ภูมิคุ้มกันลดลง
          ดื่มน�้าให้เพียงพอต่อร่างกายสังเกตง่ายๆ ว่า
          ร่างกายขาดน�้าจะส่งผลให้ลิ้นแห้ง ริมฝีปากแห้ง  7. การดูแลรักษาเท้า โรคที่มากับหน้าฝน
          การดื่มน�้าที่ดีไม่ใช่การดื่มน�้าครั้งละมากๆ หรือ  โรคเชื้อราที่เล็บเท้า โรคน�้ากัดเท้า เพราะน�้าที่
          หมดแก้ว แต่การดื่มน�้าที่ดีคือ การดื่มน�้าบ่อยๆ  กักขังไม่ระบายออกตามท่อระบายน�้า ผสม
          เพื่อให้ร่างกายไม่ขาดน�้า         กับฝุ่นและเศษขยะ ท�าให้เกิดเชื้อโรค เราควร
                                            ท�าความสะอาดเท้าโดยการล้างเท้าก่อนทุกครั้ง
                                            แล้วเช็ดเท้าให้แห้งและสมุนไพรที่อยู่ใน
                                            ครัวเรือนที่เราสามารถน�ามาป้องกันเชื้อ  8. สิ่งส�าคัญที่ควรปฏิบัติอย่างเคร่งครัด คือ
                                            แบคทีเรียหรือเชื้อราที่เท้าได้ เช่น ใบมะกรูด   เราต้องสร้างนิสัยที่ดีในเรื่องของการรับประทาน
                                            น�ามาฉีกเป็นใบ ตะไคร้บุแล้วหั่นเป็นท่อน ขิง  อาหารร้อนและสุกรวมถึงการใช้ช้อนกลางตัก
                                            น�ามาบุพอแตก น�าทั้ง 3 อย่างนี้ต้มกับน�้า   อาหารด้วย
                                            1 ลิตร ให้เดือด 10 นาที จากนั้นน�ามาผสม
                                            น�้าธรรมดาให้อุ่นๆ แช่เท้าสัก 10 นาที
                                            นอกจากช่วยป้องกันการเกิดเชื้อแบคทีเรีย
                                            ยังช่วยผ่อนคลายความเมื่อยล้าได้อีกด้วย  ขอขอบคุณข้อมูลจาก : หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ







                                                                                                     I-TEL |  12
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20