Page 18 - E-MAGAZINE_VOL_45
P. 18

I - Health | กองบรรณาธิการ


















                                                                  5 โรคอันตรำย




                                                                    มี “ยุง” ร้ำย



                                                                          เป็นพำหะ                                               2. โรคมำลำเรีย (Malaria)                            4. โรคไข้ซิก้ำ (Zika Fever)


                                                                                                                                        มีพาหะเป็น “ยุงก้นปล่อง” ยุงชนิดนี้มักพบได้มากในป่า - เขา

                                                                                                                                                                                            มี “ยุงลาย” เป็นพาหะน�าโรค ระยะฟักตัวประมาณ 4 - 7 วัน

                                                                                                                                 พื้นที่ชื้นมีน�้าท่วมขังหรือตามแหล่งน�้าต่างๆ โดยทั่วไปมักพบการ  หลังถูกยุงกัด มักมีอาการไข้  มีผื่นแดง ปวดกล้ามเนื้อ เยื่อบุตาอักเสบ
                                                                                                                                 แพร่ระบาดมากในพื้นที่ตะเข็บชายแดน ชายป่า มักเริ่มแสดงอาการ  อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ โดยปกติแล้วอาการมักจะไม่รุนแรง ผู้ป่วย
                                                                                                                                 ภายใน 10 - 28 วัน ไข้มาลาเรียจะมีอาการไข้ ปวดศีรษะ หนาวสั่น  สามารถหายได้เอง หากรักษาอย่างถูกต้อง อาการจะทุเลาลงภายใน
                                                                                                                                 คลื่นไส้อาเจียน ชีพจรเต้นเร็ว หากอาการรุนแรง อาจมีภาวะซีดหรือ  2 - 7 วัน ยกเว้นผู้ป่วยที่ก�าลังตั้งครรภ์จะต้องเฝ้าระวังเป็นอย่างมาก
                                                                                                                                 โลหิตจาง ซึ่งต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด เพราะหากเกิด  เพราะอาจมีอาการแทรกซ้อนและส่งผลให้ทารกมีภาวะสมองพิการ
                                                                                                                                 ภาวะแทรกซ้อน อันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้ หากกลับมาจากไปเที่ยว  ตั้งแต่ก�าเนิด
                                                                                                                                 ป่าเขาแล้วมีอาการควรรีบพบแพทย์ทันที

                 ช่วงเดือนตุลำคมก็ถือว่ำยังเป็นฤดูฝน หรือเป็นช่วงปลำยฝนต้นหนำว และหน้ำฝนแบบนี้เรำมักทรำบกันดีว่ำจะเป็นฤดูกำล
          แพร่พันธุ์ของเจ้ำยุงตัวร้ำย เห็นตัวเล็กๆ จิ๋วๆ แบบนี้ บอกเลยมีฤทธิ์ไม่เบำเพรำะเป็นตัวน�ำพำหะโรคต่ำงๆ มำสู่คน ยิ่งในพื้นที่

          ที่เป็นป่ำรกทึบหรือมีน�้ำขัง มักจะเป็นแหล่งวำงไข่ของเจ้ำยุงตัวร้ำย เพรำะบำงโรครุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้ ส่วนยุงชนิดไหน
          เป็นพำหะของโรคไหนบ้ำง ไปดูกันเลย






                                                              1. โรคไข้เลือดออก (Dengue Fever)
                                                                     มี  “ยุงลาย”  เป็นพาหะน�าโรค  มักพบแหล่งแพร่พันธ์ุอยู่
                                                              ภายในบ้านหรือรอบๆ บ้าน เช่น โอ่งน�้า กะลา หรือแหล่งที่มีน�้าขัง
                                                              ซึ่งการติดเชื้อจะเกิดจากยุงลายที่มีเชื้อไวรัสเดงกี (Dengue Virus)
                                                              มีระยะฟักตัวประมาณ 5 - 8 วัน จะมีไข้สูงเฉียบพลัน อ่อนเพลีย
                                                              ปวดเมื่อยร่างกายอาเจียน หรือมีผื่นแดงใต้ผิวหนัง และเสี่ยงต่ออาการ  3. โรคชิคุนกุนย่ำ หรือ โรคไข้ปวดข้อ (Chikungunya Fever)  5. โรคไข้สมองอักเสบ (Japanese Encephalitis)
                                                              แทรกซ้อนอื่นๆ เช่น ชัก หรือมีเลือดออกในอวัยวะภายในร่างกาย                 “ยุงลาย” เป็นพาหะ มีอาการคล้ายคลึงโรคไข้เลือดออก     “ยุงร�าคาญ” เป็นพาหะ มีแหล่งเพาะพันธุ์ในน�้าขังนิ่ง หรือ
                                                              ซึ่งรุนแรงจนถึงแก่ชีวิตได้                                         แต่ไข้เลือดออกจะมีอาการรุนแรงกว่า มีระยะฟักตัว 3 - 7 วัน หลังถูก  พื้นที่ที่มีการท�านาและการท�าปศุสัตว์ ยุงร�าคาญมักออกหากินในเวลา
                                                                                                                                 ยุงลายกัด ซึ่งผู้ติดเชื้ออาจมีไข้สูงอย่างเฉียบพลันแต่ว่าระยะเวลาไข้  กลางคืน ระยะฟักตัวประมาณ 5 - 15 วัน จะมีอาการไข้สูง อาเจียน
                                                                                                                                 จะสั้นกว่าโรคไข้เลือดออกประมาณ 2 วัน มีอาการตาแดง มีผื่นแดง  ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย หลังจากนั้นเริ่มมีอาการผิดปกติทางสมอง
                                                                                                                                 ตามร่างกาย  ปวดกล้ามเนื้อและปวดตามข้อ  ผู้ป่วยบางรายอาจมี  เช่น คอแข็ง เพ้อ ชัก ควบคุมความเคลื่อนไหวของมือไม่ได้ อาจเป็น
                                                                                                                                 อาการปวดข้อเรื้อรังต่อเนื่อง อาจเป็นเดือนหรือเป็นปี โรคนี้เป็นเอง  อัมพาตหรือหมดสติได้
                                                                                                                                 และหายเอง เพราะยังไม่มียาและวัคซีนรักษา วิธีการรักษาจึงรักษา
                                                                                                                                 ตามอาการ




         16 |  I-TEL                                                                                                                                                                                                         I-TEL |        17
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23