Page 6 - E-MAGAZINE_VOL_39
P. 6
I - DC | กองบรรณาธิการ
รองรับเทคโนโลยีแห่งอนาคตกับ
Data Center
ศูนย์ส�ารองข้อมูล หรือ Data Center เป็นโครงสร้างพื้นฐานให้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ สามารถด�าเนินงาน
ต่อไปได้ จึงมีความส�าคัญอย่างยิ่งเพื่อให้ระบบท�างานอย่างมีเสถียรภาพ เพราะหากระบบไม่สามารถใช้งานได้เพียงชั่วขณะหนึ่ง
ก็อาจก่อความเสียหายอย่างมาก โดยอาจจะส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือตลอดจนส่งผลกระทบต่อความมีเสถียรภาพของธุรกิจนั้นๆ
ดังนั้นการเลือกใช้ Data Center จะต้องค�านึงถึงประสิทธิภาพให้เหมาะสมกับการใช้งาน ตรงตามข้อก�าหนดของมาตรฐาน
ศูนย์ส�ารองข้อมูลทั้งการออกแบบระบบโดยรวม อุปกรณ์ที่เลือกใช้ การติดตั้งที่ถูกต้องและการบ�ารุงรักษาที่ถูกวิธี สามารถตอบสนอง
ความต้องการขององค์กร หรือลูกค้าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ
โดยปกติจุดมุ่งหมายหลักของการสร้าง ดาต้า เซ็นเตอร์ คือความ
พร้อมของศูนย์ส�ารองข้อมูลนั้นๆ ใช้การได้อย่างมีเสถียรภาพ (Availability)
สูงสุดหรือมีช่วงเวลาที่ขัดข้อง (Downtime) ต�่าสุด เพื่อสอดคล้องกับ
ความต้องการทางธุรกิจ โดยพิจารณาระดับความเสี่ยงที่ยอมรับได้และ
งบประมาณ เนื่องจากการท�าให้ได้มาซึ่งศูนย์ส�ารองข้อมูลที่มี Availability
ที่สูงขึ้นก็ย่อมหมายถึงการลงทุนที่สูงขึ้นตามไปด้วย ส�าหรับช่วงเวลาที่ศูนย์
ส�ารองข้อมูลหนึ่ง สามารถใช้การได้หรือ Availability นั้น จึงเป็นปัจจัยหลัก
ในการพิจารณาความพร้อมของ ดาต้า เซ็นเตอร์ โดยสามารถก�าหนดได้ใน
หลายลักษณะตั้งแต่การวัดในรูปของเปอร์เซ็นต์ เช่น 99.99% (Four 9’s)
หรือถ้าคิดเป็นเวลาที่ ดาต้า เซ็นเตอร์ ต้องหยุด Downtime เท่ากับ
100% - 99.99% = 0.01% หรือคิดเป็นประมาณ 0.9 ชั่วโมง/ปี
(0.01% x 8,760ชั่วโมง/ปี) นอกจากนี้ Availability ก็สามารถก�าหนดเป็น
Tier ในระดับ 1 ถึง 4 ได้ ซึ่ง UPTIME INSTITUTE หรือ TIA-942 ก็จัดระดับ
Availability ในรูปแบบ Tier เพื่อให้การบรรลุเป้าหมายของการท�างานใน
ดาต้า เซ็นเตอร์มี Availability สูงและมีช่วงเวลา Downtime ต�่าจึงต้องอาศัย
การออกแบบที่ได้มาตรฐาน ซึ่งมาตรฐานสากลที่นิยมใช้ส�าหรับเป็นแนวทาง
ในการสร้างดาต้า เซ็นเตอร์นั้นมีอยู่ 2 มาตรฐาน คือ
- มาตรฐานของ UPTIME INSTITUTE ประเทศสหรัฐอเมริกา
- มาตรฐาน TIA-942, Telecommunications Infrastructure Standard
for DATA Centers, Telecommunications Industry Association (TIA)
ประเทศสหรัฐอเมริกา
3 | I-TEL