Page 7 - E-MAGAZINE_VOL_27
P. 7

I - Trend | คุณณัฐนัย อนันตรัมพร







                 หลังจากบ้านเรือนเริ่มผลิตไฟฟ้าได้เองแล้ว ขั้นต่อไปคือ
         การน�าไฟฟ้าออกมาซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน ความยากอยู่ที่ระบบการ
         ประมวลผลว่าแต่ละบ้านขายไฟฟ้าให้ใคร เมื่อไร ในราคาเท่าไร ตรงนี้
    ตามที่เราได้เคยเขียนถึงเรื่องของ “Block Chain” ไปก่อนหน้านี้แล้วนั้นว่า Blockchain (บล็อกเชน) คืออะไร และส�ำคัญอย่ำงไร  Blockchain จึงเข้ามาช่วยแก้ปัญหาครับ ปัญหาการประมวลผล

 โดย “Blockchain นั้นเป็นเทคโนโลยีที่ช่วยน�ามาซึ่งความปลอดภัย น่าเชื่อถือ โดยไม่ต้องอาศัยคนกลาง” ซึ่งโดยปกติแล้วเรามักต้องพึ่งพิง  ธุรกรรมซื้อขายแลกเปลี่ยนไฟฟ้า ถือว่าเหมาะกับ Blockchain มาก
 บุคคลที่สาม (centralized trusted party) มาช่วยท�าหน้าที่เป็นคนกลางคอยตรวจสอบความน่าเชื่อถือเวลาท�าธุรกรรม แน่นอนว่า Trust   เพราะเป็นงานที่เก็บข้อมูลเก่าสะสมไปเรื่อยๆ โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลง
 เป็นเรื่องที่ส�าคัญมาก ไม่อย่างนั้นเราจะกล้ากรอกข้อมูลบัตรเครดิตได้อย่างไร โดยที่ยังมั่นใจว่ามันจะไม่รั่วไหล หรือถูกท�าให้เปลี่ยนแปลง   ข้อมูลในภายหลัง สิ่งที่ผู้ใช้ระบบต้องการคือการยืนยัน (verify) ว่า
 การมาของบล็อกเชนมีส่วนช่วยอย่างมาก เพราะบล็อกเชนเป็นเทคโนโลยีใหม่ ที่ประโยชน์ของมันคือมันเป็นเทคโนโลยีที่น�ามาซึ่งความปลอดภัย  ประวัติการผลิตหรือซื้อขายไฟฟ้าที่ผ่านมานั้นถูกต้อง ไม่ถูกแก้ไข เพื่อ

 น่าเชื่อถือ โดยไม่ต้องอาศัยคนกลาง ทีนี้ธุรกรรมออนไลน์ใดๆ ก็จะสามารถท�าได้อย่างสะดวกมากขึ้น ใส่ความคิดสร้างสรรค์ได้มากขึ้น creative  ว่าตอนน�าไปคิดหนี้สินกันจะได้สบายใจกันทุกฝ่าย การน�า Blockchain
 มากขึ้น innovative มากขึ้น ประหยัดขึ้น รวดเร็วขึ้น มันเรียกได้ว่าเป็น “transfer of trust in a trustless world” เพรำะถึงแม้สองบุคคล  ที่ยืนยันข้อมูลด้วยการเข้ารหัสมาใช้แทนการให้คนกลางมาจดบันทึก
 จะไม่เคยรู้จักกันมำก่อน ก็สำมำรถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ด้วยควำมมั่นใจ พูดถึงค�าว่าแลกเปลี่ยนข้อมูล ก็มีการประยุกต์ใช้ได้อย่าง  จึงเป็นโซลูชันที่ดีกว่ากันมาก บริษัทที่พัฒนาระบบบันทึกธุรกรรมซื้อขาย
         พลังงานนี้ชื่อว่า LO3 Energy เป็นสตาร์ตอัพที่เชี่ยวชาญเรื่องการใช้
 กว้างขวางทีเดียว เราจึงตื่นเต้นกันว่าบล็อกเชนนี่แหละ ต่อไปจะเป็น Game changer
         Blockchain กับอุตสาหกรรมพลังงานโดยเฉพาะ เทคโนโลยีของ
         LO3 Energy มีชื่อทางการค้าว่า Trans Active Grid โดยมีจุดมุ่งหมาย
         เพื่อทดสอบวิธีการท�างานของเทคโนโลยี Blockchain ว่าจะสามารถ
         ท�าให้เกิดการซื้อขายพลังงานแสงอาทิตย์ระหว่างเพื่อนบ้านแต่ละหลัง
         โดยตรงได้อย่างไร
                 ซึ่งเทคโนโลยีที่ใช้ในโครงการนี้ ได้น�าเอา Ethereum

 BLOCK CHAIN  blockchain มาใช้เพื่อให้ลูกค้าสามารถด�าเนินการด้านพลังงานแบบ
         กระจายศูนย์ได้ ซึ่งจะช่วยให้ลูกค้าสามารถที่จะผลิตพลังงานมาขาย
         หรือซื้อจากเพื่อนบ้านมาใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยตั้งแต่เดือนเมษายน
 ในธุรกิจพลังงาน  2016 โครงการน�าร่องนี้ เริ่มต้นที่ Brooklyn ประเทศสหรัฐอเมริกา
         โดยการส�ารวจอาคารที่ติดตั้งระบบการแจกจ่ายทรัพยากรด้านพลังงาน
         แสงอาทิตย์ ในระบบไฟฟ้าแบบกระจายศูนย์ peer-to-peer ซึ่งระบบ
         ที่ให้แหล่งกระแสไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์บนหลังคา จะถูกติดตั้งบน
         อาคาร 5 หลัง ที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อสร้างพลังงานแสงอาทิตย์ แต่
         พลังงานทั้งหมดจะไม่ได้ถูกน�ามาใช้ภายในอาคาร แต่จะถูกน�าไปขาย
         ให้กับอาคารใกล้เคียง และอาคารทั้งหมดจะเชื่อมต่อถึงกัน โดยอาศัย
         โครงข่ายไฟฟ้าทั่วไป ซึ่งจะมีการจัดการและจัดเก็บรายการธุรกรรม
    ซึ่งโดยมากแล้วเรามักจะได้ยินเรื่องของ Blockchain แต่ในธุรกิจทางด้านการเงิน วันนี้อยากขอน�าเสนอในกลุ่มธุรกิจพลังงานกันบ้าง   โดยใช้เทคโนโลยี Blockchain
 การใช้ Blockchain กับการซื้อขายพลังงานไฟฟ้า  ก่อนเข้าเรื่องต้องเกริ่นน�าก่อนพอสมควร ในโลกของการผลิตพลังงานไฟฟ้า มีระบบเครือข่าย
 สายส่งที่เรียกกันว่า “กริด” (grid) ระบบสายส่งแบบดั้งเดิมถูกพัฒนาขึ้นมานานแล้วโดยบริษัทไฟฟ้าในแต่ละท้องที่  ข้อจ�ากัดของระบบกริด     ซึ่งโครงการนี้แสดงให้เห็นว่าการบริหารจัดการพลังงานไฟฟ้าในอนาคตนั้น มีความเป็นไปได้ที่จะท�าได้อย่างอิสระโดยชุมชนในท้องถิ่น
 แบบดั้งเดิมคือมองว่าผู้บริโภคเป็น “ผู้ซื้อ” พลังงานไฟฟ้าจากบริษัทไฟฟ้าแต่เพียงฝ่ายเดียว แต่พอมาถึงยุคที่ผู้บริโภคสามารถลิตไฟฟ้าได้เอง  โดยในอนาคตโครงการนี้ ได้ถูกวางแผนให้ด�าเนินการโดยองค์กรการมีส่วนร่วมในชุมชน โดยอาศัยกลุ่มผู้อยู่อาศัยในละแวกใกล้เคียง ให้มาเป็น
 จากพลังงานรูปแบบใหม่ๆ เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ แล้วเกิดผลิตพลังงานได้เกินกว่าความต้องการของแต่ละบ้านเรือน ก็สามารถเปลี่ยนบทบาท  ผู้ถือหุ้นของบริษัท โดยแผนเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าสินทรัพย์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ทั้งหมดจะเป็นของชุมชนเอง โดยสมาชิกในชุมชนจะช่วยกันตัดสินใจ
 เป็น “ผู้ขาย” ให้กับบ้านเรือนอื่นหรือบริษัทไฟฟ้าก็ได้ แต่การเปลี่ยนผู้ซื้อให้เป็นผู้ขาย จ�าเป็นต้องมีโครงสร้างพื้นฐานที่ทันสมัยพอมารองรับ  เลือกวิธีการสร้างรายได้ให้กับองค์กรของชุมชน และในปัจจุบันเจ้าของบ้านและผู้เช่ามากกว่า 130 ราย ได้ลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมโครงการทั้งใน
 เราต้องมีระบบเซ็นเซอร์มาคอยตรวจจับว่าแต่ละบ้านผลิตไฟฟ้าได้เท่าไร และต้องมีระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยประมวลผลเรื่องการซื้อขายพลังงาน  ฐานะที่เป็นผู้บริโภคและผู้จ�าหน่ายพลังงานไฟฟ้า อย่างไรก็ตาม ความส�าเร็จที่ชัดเจนในโครงการลักษณะนี้ มักจะใช้เวลาอยู่บ้าง จนกว่าจะมี
 ระหว่างผู้บริโภคแต่ละคนอย่างละเอียด ว่าใครซื้อพลังงานจากใคร ในราคาเท่าไร เรามีชื่อเรียกระบบสายส่งไฟฟ้าสมัยใหม่แบบรวมๆ ว่า  ผู้เข้าร่วมโครงการที่มีจ�านวนมากพอ
 “สมาร์ทกริด” (smart grid)  จะเห็นว่าปัญหานี้แยกเป็น 2 เรื่องนะครับ อย่างแรกคือระบบการผลิต-กักเก็บ-ตรวจวัดพลังงานไฟฟ้าของแต่ละบ้าน     ดังนั้นสิ่งส�าคัญก็คือ เทคโนโลยีนี้จะได้รับการพัฒนาต่อไปอีกในอนาคตหรือไม่นั้น ก็ขึ้นอยู่กับชุมชนเห็นความส�าคัญในการแลกเปลี่ยน
 และระบบคอยติดตามเพื่อลงบัญชีการซื้อขายแลกเปลี่ยนพลังงานระหว่างกัน  บริษัทผู้ผลิตอุปกรณ์ไฟฟ้ารับรู้ความท้าทายข้อแรกกันมานานแล้ว  ซื้อขายพลังงานกันเองหรือไม่ แน่นอนว่า ในแวดวงอุตสาหกรรมพลังงาน คงยากที่จะเชื่อในการประยุกต์ใช้ Blockchain ในการบริหารจัดการที่
 และเริ่มพัฒนาระบบผลิต-กักเก็บไฟฟ้าขนาดเล็กส�าหรับใช้ในบ้านเรือน วางไว้บนหลังคาของอาคาร เราเรียกมันว่า “ไมโครกริด” (microgrid)   พลิกผัน business model ดั้งเดิมดังกล่าวได้ แต่คงต้องจับตาดูกันต่อไป








 3 |  I-TEL                                                                                           I-TEL |  4
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12