Page 9 - E-MAGAZINE_VOL_17
P. 9

๒. ความพอดี                                         ๖. พูดจริง ท�าจริง
                 “ในการสร้างตัวสร้างฐานะนั้นจะต้องถือหลักค่อยเป็นค่อยไป     “ผู้หนักแน่นในสัจจะพูดอย่างไร ท�าอย่างนั้น จึงได้รับความส�าเร็จ
          ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวังและความพอเหมาะพอดี ไม่ท�าเกินฐานะ  พร้อมทั้งความศรัทธาเชื่อถือและความยกย่องสรรเสริญ จากคนทุกฝ่าย
          และก�าลัง หรือท�าด้วยความเร่งรีบ เมื่อมีพื้นฐานแน่นหนารองรับพร้อมแล้ว  การพูดแล้วท�า คือ พูดจริง ท�าจริง จึงเป็นปัจจัยส�าคัญในการส่งเสริม
          จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญก้าวหน้าในระดับสูงขึ้น ตามต่อกันไปเป็น  เกียรติคุณของบุคคลให้เด่นชัด และสร้างเสริมความดี ความเจริญ ให้เกิดขึ้น
          ล�าดับ ผลที่เกิดขึ้นจึงจะแน่นอน มีหลักเกณฑ์ เป็นประโยชน์แท้และยั่งยืน”  ทั้งแก่บุคคลและส่วนรวม” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
          พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น  ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐
          วันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๔๐
                                                              ๗. หนังสือเป็นออมสิน
          ๓. ความรู้ตน                                               “หนังสือเป็นการสะสมความรู้และทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์ได้สร้างมา
                 “เด็กๆ ท�าอะไรต้องหัดให้รู้ตัว การรู้ตัวอยู่เสมอจะท�าให้เป็นคนมี  ท�ามา คิดมา แต่โบราณกาลจนทุกวันนี้ หนังสือจึงเป็นสิ่งส�าคัญ เป็นคล้ายๆ
          ระเบียบและคนที่มีระเบียบดีแล้ว จะสามารถเล่าเรียนและท�าการงานต่างๆ  ธนาคารความรู้และเป็นออมสิน เป็นสิ่งที่จะท�าให้ มนุษย์ก้าวหน้าได้โดยแท้”
          ได้โดยถูกต้องรวดเร็ว จะเป็นคนที่จะสร้างความส�าเร็จและความเจริญ  พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะสมาชิกห้องสมุดทั่วประเทศ ใน
          ให้แก่ตนเองและส่วนรวมในอนาคตได้อย่างแน่นอน” พระบรมราโชวาท  โอกาสที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท วันที่ ๒๕ พฤศจิกายน ๒๕๑๔
          พระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือ วันเด็ก ประจ�าปี ๒๕๒๑
                                                              ๘. ความซื่อสัตย์
          ๔. คนเราจะต้องรับและจะต้องให้                              “ความซื่อสัตย์สุจริตเป็นพื้นฐานของความดีทุกอย่าง เด็กๆ จึงต้อง
                 “คนเราจะเอาแต่ได้ไม่ได้ คนเราจะต้องรับและจะต้องให้ หมายความ  ฝึกฝนอบรมให้เกิดมีขึ้นในตนเอง เพื่อจักได้เติบโตขึ้นเป็นคนดีมีประโยชน์
          ว่าต่อไป และเดี๋ยวนี้ด้วยเมื่อรับสิ่งของใดมา ก็จะต้องพยายามให้ ในการให้  และมีชีวิตที่สะอาด ที่เจริญมั่นคง” พระบรมราโชวาท พระราชทานเพื่อเชิญ
          นั้น ให้ได้โดยพยายามที่จะสร้างความสามัคคีให้หมู่คณะและในชาติ ท�าให้  ลงพิมพ์ในหนังสือวันเด็ก ปี พุทธศักราช ๒๕๓๑
          หมู่คณะและชาติประชาชนทั้งหลายมีความไว้ใจซึ่งกันและกันได้ ช่วยที่ไหน
          ได้ก็ช่วย ด้วยจิตใจที่เผื่อแผ่โดยแท้” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักศึกษา  ๙. การเอาชนะใจตน
          มหาวิทยาลัยขอนแก่น วันที่ ๒๐ เมษายน ๒๕๒๑                   “ในการด�าเนินชีวิตของเรา เราต้องข่มใจไม่กระท�าสิ่งใดๆ ที่เรารู้สึก
                                                              ด้วยใจจริงว่าชั่วว่าเสื่อม เราต้องฝืนต้องต้านความคิดและความประพฤติ
          ๕. อ่อนโยน แต่ไม่อ่อนแอ                             ทุกอย่างที่รู้สึกว่าขัดกับธรรมะ เราต้องกล้าและบากบั่นที่จะกระท�าสิ่งที่
                 “  ในวงสังคมนั้นเล่า ท่านจะต้องรักษามารยาทอันดีงามส�าหรับสุภาพชน  เราทราบว่าเป็นความดี เป็นความถูกต้อง และเป็นธรรม ถ้าเราร่วมกันท�า
          รู้จักสัมมาคารวะ ไม่แข็งกระด้าง มีความอ่อนโยนแต่ไม่อ่อนแอ พร้อม  เช่นนี้ ให้ได้จริงๆ ให้ผลของความดีบังเกิดมากขึ้นๆ ก็จะช่วยค�้าจุนส่วนรวม
          จะเสียสละประโยชน์ส่วนตัวเพื่อส่วนรวม” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทาน  ไว้มิให้เสื่อมลงไป และจะช่วยให้ฟื้นคืนดีขึ้นได้เป็นล�าดับ” พระราชด�ารัส
          ปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ ๒๕ มิถุนายน ๒๔๙๖  พระราชทานเพื่อเชิญไปอ่าน ในพิธีเปิดการประชุมยุวพุทธิกสมาคมทั่วประเทศ
                                                              ครั้งที่ ๑๒ ที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันที่ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๑๓


                                                                                                      I-TEL |  6
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14