Page 25 - E-MAGAZINE_VOL_48
P. 25

I - Law | กองบรรณาธิการ












 กำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting)





    ใกล้เข้าสู่เดือนเมษายนของทุกปี ผู้ประกอบการที่ด�าเนินธุรกิจในรูปแบบบริษัทจ�ากัด หรือบริษัทมหาชนจ�ากัดต่าง
 ต้องเตรียมการเพื่อจัดให้มีการประชุมผู้ถือหุ้นประจ�าปีเพื่อน�าเสนอวาระต่างๆ ให้กับผู้ถือหุ้นพิจารณาและลงมติตาม
 หลักเกณฑ์ที่กฎหมายก�าหนด ซึ่งในปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการติดต่อสื่อสารได้พัฒนาไปอย่าง
 ต่อเนื่องและรวดเร็ว ประกอบกับจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในปัจจุบัน
 ที่ทั้งในประเทศไทยและในหลายประเทศทั่วโลกก�าลังเผชิญมีจ�านวนผู้ติดเชื้อที่ต้องเข้ารับการรักษาพยาบาลและเสียชีวิต
 จากโรคดังกล่าวเป็นจ�านวนมากเนื่องจากติดเชื้อได้ง่ายองค์การอนามัยโลกจึงได้ประกาศให้เป็นภาวะการแพร่ระบาดใหญ่
 ทั่วโลกและขณะนี้ยังไม่มีแนวทางการรักษาที่ชัดเจนท�าให้รัฐบาลต้องใช้มาตรการที่เข้มข้นเพื่อควบคุมการระบาดของโรค
 ตามค�าแนะน�าขององค์การอนามัยโลกโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) ท�าให้การ

 ปฏิบัติงานของภาครัฐและการประกอบกิจกรรมในทางเศรษฐกิจของเอกชนเกือบทุกภาคส่วนซึ่งต้องมีการประชุมเพื่อ
 ปรึกษาหารือกันเป็นปกติต้องด�าเนินการด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์


    ในบทความฉบับนี้จึงใคร่ขอน�าเสนอหลักเกณฑ์การประชุม     1) ค�ำนิยำม     3) กำรด�ำเนินกำรจัด e-Meeting ที่จะมีผลทำงกฎหมำย
 ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (e-Meeting) โดยสังเขปตามพระราชก�าหนด     กำรประชุมผ่ำนสื่ออิเล็กทรอนิกส์คือ การประชุมที่กฎหมาย  พ.ร.ก. การประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ก�าหนดให้ผู้มีหน้าที่จัดการประชุม e-Meeting ต้องด�าเนินการ ดังนี้
 ว่าด้วยการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563 (พ.ร.ก. การประชุม  บัญญัติให้ต้องมีการประชุมที่ได้กระท�าผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยผู้ร่วม     1. ต้องจัดให้ผู้เข้าร่วมประชุมสามารถแสดงตนก่อนร่วมประชุม
 ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ) ซึ่งเป็นกฎหมายหลักที่มีผลใช้บังคับนับตั้งแต่  ประชุมมิได้อยู่ในสถานที่เดียวกันและสามารถประชุมปรึกษาหารือ     2. ต้องจัดให้ผู้ร่วมประชุมสามารถลงคะแนนได้ ทั้งแบบลงคะแนนโดยเปิดเผยและแบบลงคะแนนลับ
 วันที่ 19 เมษายน 2563 เป็นต้นมาดังนี้  และแสดงความคิดเห็นระหว่างกันได้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์     3. ต้องจัดท�ารายงานการประชุมเป็นหนังสือ (สามารถจัดท�าในรูปแบบข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ได้)
    ผู้เข้ำร่วมประชุมคือ ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ     4. ต้องจัดให้มีการบันทึกเสียงหรือทั้งเสียงและภาพ แล้วแต่กรณีของผู้ร่วมประชุมทุกคน ตลอดระยะเวลาที่ประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
 กรรมการ อนุกรรมการ เลขานุการ และผู้ช่วยเลขานุการของ     เว้นแต่เป็นการประชุมลับ
 คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรือคณะบุคคลอื่นตามที่กฎหมาย     5. ต้องจัดเก็บข้อมูลจราจรอิเล็กทรอนิกส์ของผู้ร่วมประชุมทุกคนไว้เป็นหลักฐาน
 ก�าหนด และรวมถึงผู้ซึ่งต้องชี้แจงแสดงความคิดเห็นต่อคณะกรรมการ     6. ต้องเป็นไปตามมาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจก�าหนด
                 ซึ่งเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมากระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมได้ออกประกาศเรื่อง มาตรฐานการรักษาความมั่นคง
    2) กำรบังคับใช้และผลทำงกฎหมำย     ปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2563 (ประกาศฯ) ในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 137 ตอนพิเศษ 122 ง โดยประกาศฯ
    พ.ร.ก. การประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ ใช้บังคับกับกรณี     ฉบับนี้ได้ก�าหนดรายละเอียดการปฏิบัติของการจัดประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ไว้อย่างเป็นขั้นตอนและสามารถน�าไปเป็นแนวทาง
 การประชุมที่ต้องการผลตามกฎหมาย หรือกฎหมายก�าหนดให้ต้อง     ในการปฏิบัติส�าหรับการจัดประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ส�าหรับองค์กรต่างๆ ได้ ทั้งนี้ ตามประกาศฯ ได้จ�าแนกสาระส�าคัญออกเป็น
 จัดให้มีการประชุมนั้น เช่น การประชุมผู้ถือหุ้น หรือการประชุมของ     4 หมวดได้แก่หมวดที่ 1 บททั่วไป, หมวดที่ 2 มาตรฐานการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์, หมวดที่ 3 มาตรฐานการประชุมผ่าน
 คณะกรรมการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการประชุมของภาครัฐ และภาคเอกชน     สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในเรื่องลับ และหมวดที่ 4 มาตรฐานความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศโดยประกาศฯ ข้อ 24 ก�าหนดให้ส�านักงาน
 แต่อย่างไรก็ตาม พ.ร.ก. การประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ฯ นี้ จะไม่ใช้     พัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (ส�านักงานฯ) เป็นผู้ก�าหนดมาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยด้านสารสนเทศของระบบควบคุม
 บังคับกับการประชุมดังต่อไปนี้     การประชุมดังกล่าวซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้เป็นที่คาดหมายได้ว่าจะมีการตรวจประเมินและรับรองมาตรฐานของระบบควบคุมการประชุม
    1. การประชุมของสภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา     ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ส�านักงานฯ ก�าหนดเพิ่มมากขึ้น
    2. การประชุมเพื่อจัดท�าค�าพิพากษาหรือค�าสั่งของศาล
    3. การประชุมเพื่อด�าเนินการตามกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
    ของส่วนราชการ ราชการส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การ
    มหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ  ขอขอบคุณข้อมูลอ้างอิงจาก:
          (1) พระราชก�าหนดว่าด้วยการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563
    4. การประชุมอื่นหรือในเรื่องตามที่ก�าหนดในกฎกระทรวง  (2) ประกาศกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เรื่อง มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2563
          (3) ส�านักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์,การประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามพระราชก�าหนดว่าด้วยการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2563
          : https://www.etda.or.th/th/newsevents/pr/e-Meeting.aspx
          (4) ศูนย์พัฒนาเทคโนโลยีแพทยศาสตร์ศึกษา (MTEC) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ประกาศ!! มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของการประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์
          : https://w2.med.cmu.ac.th/mtec/news/e-meeting-announcement2020/
          (5) ราชกิจจานุเบกษา : http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2563/E/122/T_0024.PDF

 22 |  I-TEL                                                                                          I-TEL |        23
   20   21   22   23   24   25   26