Page 16 - E-MAGAZINE_VOL_48
P. 16
I - Health | กองบรรณาธิการ
ประเทศไทยขึ้นชื่อว่าเป็นประเทศเมืองร้อน จากข้อมูลของกรมควบคุมโรค* บอกว่ามีผู้ป่วยเป็นลมแดดเฉลี่ย
400 คนต่อเดือน และบางรายถึงขั้นเสียชีวิต โดยเฉพาะช่วงเดือนเมษายน ที่อุณหภูมิจะสูงขึ้นกว่าปกติ อากาศร้อนจึงเป็น วิธีดูแลตัวเองในวันที่อากาศร้อนจัด
เรื่องใกล้ตัวที่เราทุกคนควรพึงระวัง และดูแลตัวเองให้พร้อมเมื่อต้องเผชิญกับแสงแดดและอากาศร้อน
ดื่มน�้าเปล่าทดแทนเหงื่อที่เสียไป
หลีกเลี่ยงการอยู่กลางแจ้งนานๆ น�้าที่เหมาะสมที่สุดคือน�้าเปล่า
เพื่อหลีกเลี่ยงการรับรังสี UV พยายามจิบน�้าบ่อยๆ ตลอดวัน เพื่อชดเชยเหงื่อ
จากแสงแดดโดยตรง ซึ่งอาจมีอาการ ที่ออกมาเพื่อระบายความร้อนให้ร่างกาย
เพลียแดดและอาการฮีทสโตรกตามมาได้ และเพื่อป้องกันภาวะร่างกายขาดน�้า หลีกเลี่ยง
เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนและแอลกอฮอล์ เพราะ
4 อาการต้องระวังในฤดูร้อน จะสารเหล่านี้จะยิ่งกระตุ้นการขจัดน�้าออกจาก
ร่างกาย หากต้องการความสดชื่น สามารถดื่ม
น�้าผลไม้แทนได้
สวมเสื้อผ้าที่ระบายอากาศได้ดี
เสื้อผ้าจากเส้นใสธรรมชาติที่มีขนาด
พอดีตัว ไม่รัดแน่นจนอึดอัด สีชุดไม่ควรเป็น
โรคลมแดดหรือ Heat Stroke ผดผื่นร้อน สีเข้มเพราะจะยิ่งดูดความร้อน
ภาวะที่อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น เมื่อเจออากาศร้อนจัด ร่างกาย ต่อมเหงื่อใต้ผิวหนังอุดตัน จนร่างกายไม่สามารถขับเหงื่อได้
ไม่สามารถระบายความร้อนได้ตามปกติ มีอาการหัวใจเต้นเร็ว ตามปกติ จะเกิดเป็นผื่นคันบวมแดง มีอาการอักเสบ แสบร้อน บางราย
ผิวหนังแดง สับสน หงุดหงิด เห็นภาพหลอน เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ อาจมีหนอง หรืออาจมีไข้ร่วมด้วย หากไม่ดูแลดีๆ อาจเกิดการติดเชื้อได้
แทรกซ้อนอย่าง ตับและไตวาย บางรายถึงขั้นช็อกหมดสติ หรือ ผดผื่นร้อน มักเกิดบริเวณข้อพับและบริเวณผิวหนังที่เสียดสีใต้ร่มผ้า
เสียชีวิตได้ เช่น รักแร้ ขาหนีบ เป็นต้น
พกพาตัวช่วย ใช้เจลว่านหางจระเข้ทาผิวหลังออกแดด ไม่เปิดพัดลมหรือเปิดเครื่องปรับอากาศ
เมื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนไม่ได้ ก็ ผิวหนังหลังจากโดนแดดจะมีอาการ ให้ถูกร่างกายโดยตรง
ต้องปกป้องร่างกายให้ดีที่สุด จึงควรพกร่ม แสบร้อนเหมือนผิวไหม้ ล้างมือล้างแขนด้วย หลังจากเผชิญอากาศร้อนมาใหม่ๆ
หมวก และแว่นกันแดดติดตัว ติดรถ ติดที่ น�้าสะอาดแล้วเอาเจล หรือโลชั่นที่มีส่วนผสม ไม่ควรให้ร่างกายถูกลมเย็นๆ จากพัดลมหรือ
ท�างาน รวมถึงทาครีมกันแดดก่อนออกจาก ของว่านหางจระเข้ทาบริเวณผิวที่ถูกแดด เครื่องปรับอากาศโดยตรง เพราะอุณหภูมิสูง
บ้าน เพื่อปกป้องผิวหนังไม่ให้สัมผัสกับรังสี ก็จะช่วยบรรเทาอาการแสบร้อนลงได้ ในร่างกายยังสูงอยู่ อาจท�าให้ร่างกายปรับตัว
UV โดยตรง ไม่ทัน ส่งผลให้มีอาการป่วยตามมา จึงควร
อ่อนเพลียจากแดด ผิวไหม้แดด นั่งพักให้ร่างกายค่อยๆ ปรับกับอุณหภูมิห้อง
เมื่อต้องเผชิญกับแสงแดดและอากาศร้อน เป็นเวลานานๆ แม้แสงแดดจะมีวิตามินที่เป็นประโยชน์ต่อผิวหนัง แต่หาก ในขณะนั้น
รวมถึงผู้ที่สูญเสียเหงื่อจากการท�างานหรือออกก�าลังกาย ท�าให้การ ผิวหนังรับแสงแดดร้อนจัดเป็นเวลานานๆ รังสี UV จากแดดก็จะท�าให้
ไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงสมองแย่ลง เกิดอาการวิงเวียน เมื่อยล้า ปวดหัว ผิวหนังแสบร้อน นอกจากจะส่งผลให้ผิวคล�้าเกรียมแดดแล้ว เซลล์ผิวหนัง *หมายเหตุ : ข้อมูลจากกระทรวงสาธารณะสุขปี 2560
คลื่นไส้ หัวใจเต้นเร็ว หน้าซีด และอาเจียน อาจท�างานผิดปกติ จนกลายเป็นสาเหตุของโรคมะเร็งผิวหนังได้ เรียบเรียงเนื้อหาจาก : thaihealth.or.th, pobpad.com
14 || I-TELI-TEL I-TEL || 1515
I-TEL
14