Page 7 - E-MAGAZINE_VOL_15
P. 7
โดยแน่นอนว่าการท�าธุรกรรมใดๆหากไม่รู้จักกันมาก่อนอาจจะไม่มั่นใจในการด�าเนินธุรกรรมเหล่านั้นแต่ “Blockchain” จะเข้ามาจัดการ
ให้ผู้ซื้อและผู้ขายสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้อย่างเปิดเผย (Transparent) และเลือกผู้ซื้อผู้ขายที่ตนเองพอใจ ยกตัวอย่างเช่น นาย ก
ต้องการแลกเงิน โดยมีผู้ประสงค์จะให้แลกอยู่ 10 ราย นาย ก สามารถทราบได้ว่าทั้ง 10 รายนั้นมีก�าลังที่จะให้แลกได้มากน้อยแค่ไหนแตกต่างกัน
และสามารถที่จะเลือกท�ารายการกับรายใดก็ได้ตามที่นาย ก ต้องการ ซึ่งท�าให้เกิดความสบายใจทั้งผู้ซื้อผู้ขาย โดยผู้ขายเองจะต้องด�าเนินการ
ให้ดีที่สุดเพื่อท�าให้ธุรกิจไปต่อได้ท�าให้ผู้ซื้อได้ประโยชน์ในส่วนของการแข่งขันระหว่าง 10 รายนั้นไปในตัวและยังตัดพ่อค้าคนกลางที่อาจจะมี
การเพิ่มก�าไรจากการท�าธุรกรรมเหล่านั้นท�าให้ได้ต้นทุนที่ดีที่สุดไป
โดย “Blockchain” เป็นรูปแบบการเก็บข้อมูล (Data structure) แบบหนึ่ง ที่ท�าให้ข้อมูล Digital transaction ของแต่ละคนสามารถ
แชร์ไปยังทุกๆ คนได้ เป็นเสมือนห่วงโซ่ (Chain) ที่ท�าให้ block ของข้อมูลลิ้งค์ต่อไปยังทุกๆ คนเป็น โดยที่ทราบว่าใครที่เป็นเจ้าของและมีสิทธิ
ในข้อมูลนั้นจริงๆ เมื่อ Block ของข้อมูลได้ถูกบันทึกไว้ใน “Blockchain” มันจะเป็นเรื่องยากมากๆ ที่จะเข้าไปเปลี่ยนแปลง เวลาที่มีใครต้องการ
จะเพิ่มข้อมูล ทุกๆ คนในเครือข่ายซึ่งล้วนแต่มีส�าเนาของ “Blockchain” สามารถรัน Algorithm เพื่อตรวจสอบ Transaction โดย Transaction
ใหม่นี้จะได้รับอนุญาต ต่อเมื่อในเครือข่ายส่วนใหญ่เห็นด้วยว่ามันถูกต้อง
ยกตัวอย่างการประยุกต์ใช้ “Blockchain” กับหลายวงการที่น�าเอาเทคโนโลยีดังกล่าวมาใช้งานแล้วในปัจจุบัน เช่นวงการอสังหาริมทรัพย์
สามารถประยุกต์ใช้ท�า Smart contract โดยถ้าสัญญาอยู่ใน “Blockchain” ทุกคนจะเห็นข้อมูลตรงกัน ท�าให้ผู้ซื้อและผู้ขายทราบได้ว่าเมื่อไหร่
สัญญาจะหมดและต้องการผู้เช่าใหม่ ซึ่งแน่นอนเป็นการตัดตัวกลางเช่น นายหน้า ที่ท�าหน้าที่เชื่อมโยงผู้อยากซื้อและอยากขายเข้าด้วยกัน ซึ่งจริงๆ
แล้วจะคล้ายกับการมีหน้า Website มา Post หาผู้เช่า หรือหาผู้ให้เช่า แต่จัดท�าเป็นระบบและมีการ Automate และใช้งานกันทั้งอุตสาหกรรม
จึงนับเป็น “Block Chain”
ส�าหรับประเทศไทย แม้ว่าเทคโนโลยี “Block chain” จะยังอยู่ในช่วงเริ่มต้น แต่เริ่มเห็นสัญญาณการตื่นตัวจากหลายๆ บริษัททั้งที่อยู่และ
ไม่ได้อยู่ในอุตสาหกรรมทางเงิน ต่างให้ความส�าคัญและเข้าไปสนับสนุนทางการเงิน หรือพัฒนานวัตกรรมต่างๆ ร่วมกับบริษัท Start-up มากขึ้น
นอกจากนี้ หน่วยงานก�ากับดูแลอุตสาหกรรมทางการเงิน อาทิ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับหลักทรัพย์และ
ตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) และ ส�านักงานคณะกรรมการก�ากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ก็เริ่มตื่นตัว ในการออกกฎระเบียบ
หรือเกณฑ์การควบคุม คุ้มครองผู้บริโภคและผู้ลงทุนเช่นกัน
ในการนี้ทางบริษัทก็ได้ให้ความส�าคัญ เป็น Game Changer ของอุตสาหกรรม
กับเรื่องดังกล่าว และมองเห็นว่า “BlockChain” ทางการเงิน ซึ่งผู้ประกอบการและผู้ใช้งานจะ
จะเกิดขึ้นได้จะต้องประกอบไปด้วยการเชื่อมต่อ ต้องเตรียมความพร้อมล่วงหน้า แต่อย่างไรก็ดี
ผู้ซื้อผู้ขายเข้าด้วยกันซึ่งแน่นอนว่าโครงข่าย การเปลี่ยนแปลงทั้งหมดนี้ ล้วนส่งผลดีต่อ
ใยแก้วน�าแสงที่จะเชื่อมต่อระหว่างที่ต่างๆ ผู้บริโภคในที่สุด เพราะได้รับบริการที่รวดเร็ว
เข้าด้วยกันจะเข้ามามีบทบาทเป็นอย่างยิ่งคง สะดวกสบาย และค่าใช้จ่ายในการท�าธุรกรรม
ต้องจับตาดูกันต่อไปว่าเมื่อใดเทคโนโลยีดัง ที่ถูกลง
กล่าวจะเข้ามาแต่บริษัทฯ มองว่าไม่เร็วก็ช้า
จะเริ่มเห็นเทคโนโลยีดังกล่าวเข้ามา
I-TEL | 4