Page 4 - E-MAGAZINE_VOL_11
P. 4
I - Tell | คุณกฤษฎา แก้ววัดปริง
HYBRID CONNECTIVITY NETWORK
การเชื่อมต่อโครงข่ายในการสื่อสารระหว่างกันในปัจจุบันมีหลากหลายรูปแบบ ล้วนแล้วแต่มีความส�าคัญแตกต่างกันออกไป รวมถึงมีการ
ใช้งานที่แตกต่างกันออกไปด้วย ทั้งนี้ในการออกแบบโครงข่ายให้มีประสิทธิภาพเพื่อรองรับความต้องการปัจจุบันและอนาคต จึงมีความส�าคัญเป็น
อย่างยิ่งเนื่องจากผู้ใช้บริการซึ่งประกอบธุรกิจที่ต้องการความคล่องตัว และความเสถียรของการสื่อสารข้อมูลระหว่างกัน เพื่อให้ตอบความต้องการ
กับการใช้งานได้มากที่สุด ท�าให้ในทุกๆ กลุ่มลูกค้ามองหาโซลูชั่น (Solution) ที่ต้องมีการเชื่อมต่อหากันได้ในทุกๆ ช่องทางตลอดเวลาโดยไม่มีข้อจ�ากัด
เรื่องของเทคโนโลยีในการเชื่อมต่อหากัน
ทางบริษัท อินเตอร์ลิ้งค์ เทเลคอม จ�ากัด (มหาชน) เล็งเห็นถึงเทคโนโลยีในปัจจุบันและอนาคต ได้มีการออกแบบโครงข่ายที่มี
ความแตกต่างจากผู้ให้บริการรายอื่นๆ ซึ่งนอกเหนือจากโครงข่ายไฟเบอร์ออฟติค (Fiber Optic) ที่ให้บริการบนโครงข่ายหลักตามแนวรถไฟ
ครอบคลุมทั่วประเทศเป็นรายเดียวในประเทศไทยแล้ว ยังมุ่งเน้นไปที่การให้บริการบนโครงข่ายไร้สาย (Mobile Network) ที่ก�าลังได้รับความ
นิยมกันอย่างแพร่หลาย เป็นการน�าโครงข่ายรูปแบบที่ใช้สายมาใช้งานร่วมกันกับโครงข่ายไร้สายเพื่อให้มีรูปแบบการท�างานที่สมบูรณ์แบบที่สุด
ส�าหรับผู้ใช้บริการ เราเรียกโครงข่ายประเภทนี้ว่า โครงข่ายการเชื่อมต่อแบบผสม (Hybrid Connectivity Network) การน�าโครงข่ายมาใช้
งานร่วมกันหลายๆ รูปแบบจะส่งผลให้การใช้งานของผู้ใช้บริการ หรือลูกค้าสามารถใช้งานในการส่งข้อมูลต่างๆ ระหว่างกันได้โดยไม่มีการหยุด
(Down Time) ของข้อมูล ส�าหรับโครงข่ายในรูปแบบไร้สาย เช่น 3G หรือ 4G เป็นต้น ที่น�ามาใช้งานร่วมกับโครงข่ายที่มีความเป็นส่วนตัว
(Private Network) ผ่านไฟเบอร์ออฟติคนั้น หากเป็นรูปแบบทั่วไปสิ่งที่ลูกค้ามีความกังวลมากที่สุดคือเรื่องของความปลอดภัยของข้อมูล
แน่นอนว่าหากน�าบริการไร้สายทั่วไปจะไม่มีความปลอดภัยในการใช้งาน แต่ส�าหรับการให้บริการกับกลุ่มลูกค้าประเภทโครงข่ายที่มีความเป็นส่วนตัว
1 | I-TEL